การพิจารณาความไม่เที่ยงของชีวิต Dhamma TIME เดือนเมษายน พ.ศ.2557 หน้า 44
หน้าที่ 44 / 48

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงการตระหนักถึงความไม่เที่ยงของชีวิตและการเกิดดับของสังขาร ซึ่งชีวิตนั้นมีทั้งความสุขและทุกข์ การเข้าใจธรรมะจากพระพุทธศาสนา และการเข้าถึงพระธรรมกายเพื่อสงบจิตใจช่วยให้เราเห็นความจริงของสังขาร การเตรียมตัวต่อการแก่เจ็บตายและการสร้างบุญในชีวิตเพื่อให้ถึงนิพพาน คือ ความสงบที่แท้จริง เข้าใจว่าสังขารไม่เที่ยงและต้องทำใจให้หยุดนิ่งเพื่อเข้าถึงธรรมะตามความเป็นจริง.

หัวข้อประเด็น

-ความไม่เที่ยงของชีวิต
-การเข้าถึงพระธรรมกาย
-การพิจารณาสังขาร
-การสร้างบุญบารมี
-นิพพานและความสงบ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

แสดงธรรมให้มาหาฉันฟังกันอยู๋ เข้าไปนั่งคุกเขา องค์พระงแต่งตั้งให่นางเป็นกิขยณี ผู้เลิศในด้านทรงจำพระวินัย จึงกล่าวว่า "คุณน้องหญิง เธอหากลับได้คืนก็เถิด" ด้วยพุทธานุภาพ มาก จะแห็นว่า จุดหยักหงพลีชีวติ้ หาทางได้ ปัญญาพิจารณา แล้วก็คิดสนใจให้ถูกต้อง ชีวิตนั้นจะผ่านพันหวังทุกข์ไปได้ ชีวิตของเรานี้ประบางยิ่งนัก หายใจออกไม่หมายใจเข้าก็ตาย หายใจเข้าไม่หมายใจออกก็ตาย แม้จะพยายามประคับประคองอย่างดีเพียงใด ก็อยู่ไม่ไบนานนักต้องแก่ ต้องเจ็บและต้องตายในที่สุด ชีวิตเราจึงตั้งอยู่ไม่านเหมือนหยาดน้ำค้างบนปลายยอดภู เมื่อต้องแสดงพระอาทิตย์ยามเช้า ก็ต้องเหือดแห้งหายไปอย่างรวดเร็ว ตามธรรมดาสงครั่งร่างกายของคนเรา เกิดดับอยู่ตลอดเวลา แต่เมื่อจกิ้นต่อกันรวดเร็วมาก เราจึงไม่ค่อยรู้ถึงการเกิดดับ และมองเห็นว่าเป็นของเทื่อจริงยิ่งขึ้น เพราะสันติคือ ความสงบ ต่อไม่จากยามดิบบง รักษารุปัลรตัวให้ ทำให้เกิดความประมาทกลุ่มหลงในวัยและชีวิต กว่าสังขารเสื่อมถอยลงไปแล้ว ชีวิตก็ยังเข้าสู่วัยชรา ไร้เรี่ยวแรงแล้ว ควันพอจะหนากลับมาทำความดี มาสร้างบุญบารมีให้เต็มที่เหมือนเมื่อยังเป็นหนุ่มเป็นสาวอยู่ก็ไม่ได้เสียแล้ว การจะเห็นสงขรได้ตามความเป็นจริง ต้องทำใจให้หยุดนิ่งที่ศูนย์กลางกายฐานที่ 7 นี้และหยุดให้สนิทในกายเข้าไปเรื่อยๆ ตั้งแต่กายมะนะเฉย (กายทิพย์) ภายในพรหม จนถึงกายธรรม เข้าถึงพระธรรมกายได้เมื่อไหร่ อารมณ์ธรรมัก็คือธรรมภายใน มองเห็นสังขารทั้งหมดว่า เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา ดิถรอในกายของไตรลักษณ์ การเห็นความไม่เที่ยง ความเกิดดับของสงสาร และสิ่งทั้งปวงตามความเป็นจริง ทำให้เกิดนิพพานคือ ความเมื่อนาย เมื่อเบื่อหน่ายย่อม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More