ข้อความต้นฉบับในหน้า
วิธีการเจริญโพชฌงค์ หลวงปู่ปานวัดป่าน้ำ มัก่อน แต่ครั้งต่อไป ถ้าหากมีเมตตาไว้ ให้ย่อยใน ภาษีเจริญท่านได้สอนเอาไว้ว่า ตั้งแต่ วันที่ที่ปีนิ่ง สติสมโพชฌงค์ เราก็ต้องเป็นคนไม่เหลอ สติ เอาสติธิอยู่ที่ศูนย์กลางกายฐานที่ 7 ลง ศูนย์กลางดวงธรรมม์ทำให้เป็นกายมนุษย์ ตั้งสติ ตรงนี้ ทำใจให้หยุดนิ่ง ไม่หยุดเป็นไม่ยอมเลิก ทำให้หยุดไม่ผลออกเดี่ยว ทำจนกระทั่งใจหยุดได้ จึงจะเป็นตัวสติสมโพชฌงค์ เมื่อทำใจหยุดตรงนั้น ไม่ผลออกสติ ระหว่างใจหยุดเอาไว้ นอน ยืน เดิน ก็เอาใจหยุดได้ตรงกลางไม่ให้ผล สติของเราจะบริสุทธิ์เป็นมรณา
ถ้ามีวิจัยสมโพชฌงค์ คืเมื่อสติควบคุมใจให้หยุดนิ่งอยู่ในกลางกายได้งสนิทดีแล้ว จะเป็นความดีหรือความชั่วลดลงมา ก็ทำใจให้หยุดนิ่งเอาไว้ใจหยุดระวังไม่หลง สิ่งไหนที่ไม่ดี เข้ามาในใจ ก็จาลนเห็นว่า สิ่งนั้นเป็นบาปอกุล ก็ว่าให้ห่างเสีย สิ่งดีเป็นกุศล ธีใดเป็นกุศลธรรมก็เลือกลงมือปฏิบัติให้แจ้งเห็นจริง การสอดส่องธรรมทั้งฝ่ายดีและไม่ดี ท่านเรียกว่ามีวิจัยสมโพชฌงค์
วิริยะสมโพชฌงค์ คือเพียรรักษาใจให้หยุดให้ยิง ไม่ให้คลื่นออกนอกศูนย์กลางกาย ไปยินดียินร้าย ความยินดียินร้ายเป็นอวิชชาโทมนัสเมื่อเล็ดลอดเข้าไป ก็ทำใจของเราหยุดนิ่งได้ไม่สนิท ทำให้จอกแว็ก เพราะฉะนั้นจึงต้องมีความเพียรกล่าว รักษาไว้ให้หยุด จึงจะชื่อว่าวิริยะสมโพชฌงค์
ปีติสมโพชฌงค์ เมื่อใจหยุดนิ่งถูกศูนย์ถูกส่วนดีแล้ว ส่วนใหญ่ครึ่งแรกๆ นักปฏิบัติธรรมก็จะรู้สึกดีสุดดีใจ ลิงโลดใจ เมื่อเกิดปิติเหล่านี้ในมา ทั้งนี้เป็นปิติซาบซ่านทำให้ลุกซ่าน หรือปิติเหล่านี้จะเหาะจะลอยได้ จนไม่สามารถขอเอาไว้ได้ เพราะไม่เคยเจอประสบการณ์ภายในอย่างนี้