ข้อความต้นฉบับในหน้า
นิยสาร Dhamma TIME
ประจำเดือน พฤศจิกายน
ต้นแบบแห่งความดี
พระธรรมเทศนาศโดย: พระเทพญาณมหามุนี
ปัจจุบันนี้คนส่วนใหญ่อมรับว่า การฝึกสมาธิ ไม่เพียงเป็นการช่วยผ่อนคลายความเครียดเท่านั้น ยังช่วยบำบัดรักษาโรคภัยไข้เจ็บได้ดีด้วย อย่างเช่น ช่วยเหลือผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจได้ ช่วยควบคุมอารมณ์ของคนที่เป็นโรคในดรน ช่วยลดความดันโลหิต ให้อยู่ในระดับที่เป็นปกติได้ ช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อย รวมไปถึงสามารถบำบัดรักษาโรคมะเร็งได้อีกด้วย
ในวงการแพทย์ร่วมไปถึงจิตวิทยา และพ่อค้าหลักธุรกิจในบริษัทใหญ่ๆ ทั่วโลก ได้เห็นข้อดีของการฝึกสมาธิ ที่ส่งผลให้ผู้คนมีชีวิตที่ดีขึ้น บุคคลมีคุณภาพมากขึ้น ความเครียดและการกระทบกระทั่งลดลง การทำงานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ชีวิตประจำวันมีความสุขมากขึ้น ทั้งๆ ที่งานก็เหมือนเดิมแต่ปัญหากลับลดลง การดำรงชีวิตรวมไปถึงสมาชิกในครอบครัวมีความอบอุ่นขึ้น ได้รับความเมตตาที่บ้านและที่ทำงาน ทั้งนี้เพราะสมาธิมีส่วนช่วยประสานช่องว่างแห่งความสุขให้เชื่อมต่อกัน ดังนั้นจึงควรหมั่นมาใส่ใจในการฝึกสมาธิให้เพิ่มมากขึ้น
มีรากแห่งพุทธภาษิตที่มาใน ติสสะเมตโดยสูตรว่า
"บุคคลพึงเห็นโทษในการปฏิบัติผิดทาง ควรศึกษาไตรสาขา เพื่อจะได้ความผิด ควรศึกษา วิภาคและประพฤติวิภาคเป็นกิจของพระอริยเจ้า บุคคลไม่มีความหวั่นไหวในกามทั้งหลาย ย่อมข้ามโอฆะที่ข้ามได้โดยง่าย"
การปฏิบัติธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงแนะนำมาแล้ว คือการทรงนาพร่างกาย และการหัวใจให้วางกับเบิกบานคุณทั้งหลาย ทั้งสองอย่างนี้ไม่อาจทำให้พ้นทุกข์ได้ ท่านจึงมานาปฏิบัติในทางสายกลาง ดำเนินตามหลักไตรสาขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ประพฤติติวาวาเกลี่น เพื่อเจริญสมาธิภาวนา จนกระทั่งสามารถล่วงพ้นจากโอฆะ ข้ามกิเลสเครื่องร้อยรัดทั้งหลายได้ เครื่องร้อยรัดอย่างหนึ่ง คือ อามป เป็นปฏิบัติอันสมบูรณ์
* พระพุทธองค์ทรงปรากฏเรื่องนี้ เพราะเหตุมา จากกัลยาณธรรมารมณ์กุรสตุ ๑๕๐ คน ได้ออกบวชในสำนักพระบรมศาสดา แต่เนื่องจากยังเป็นผู้ใหม่อยู่ อินทรีย์ยังอ่อน จึงมีอามปิดกั้น คือ ความร้อยในเรื่องกาม