ข้อควรระวังในการฝึกสมาธิ คำไม่เล็กของคุณครูไม่ใหญ่ (มินิ) เล่ม 4 (สมาธิ...ลมหายใจของชีวิต) หน้า 280
หน้าที่ 280 / 288

สรุปเนื้อหา

เมื่อฝึกสมาธิ ควรระวังไม่ให้ใช้กำลังกล้ามเนื้อ และทำใจให้เป็นกลาง เพื่อให้จิตสามารถเข้าถึงพระธรรมกายได้อย่างสงบ ไม่ต้องกังวลถึงการกำหนดลมหายใจเข้าออก การเข้าถึงสัมผัสภายในนั้นต้องใช้เวลาและความอดทน เหมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ การฝึกสมาธิต้องมีความสม่ำเสมอและตั้งใจ จะช่วยให้เข้าถึงระดับที่สูงขึ้นและสามารถเจริญวิสาสะในอนาคตได้

หัวข้อประเด็น

-ข้อควรระวังในการฝึกสมาธิ
-การทำใจให้เป็นกลาง
-การเข้าถึงพระธรรมกาย
-การกำหนดลมหายใจ
-การเจริญสมาธิขั้นสูง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ข้อควรระวัง ๑. อย่ากำลัง คือ ไม่ใช่กำลังใดๆ ทั้งสิ้น เช่น ไม่บีบ กล้ามเนื้อตา เพื่อจะให้เห็นนิ่งเร็วๆ ไม่เกร็งแขน ไม่เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ไม่เกร็งตัว ฯลฯ เพราะการใช้กำลังตรง ส่วนใดของร่างกายก็ตาม จะทำให้จิตเคลื่อนไหวจากศูนย์กลาง ไปสู่จุดนั้น ๒. อย่าอยากเห็น คือ ทำใจให้เป็นกลาง ประคองสติ มีให้ผลออกจากบริกรรมภาวนาและบริกรรมมินต์ ส่วนจะเห็นนิ่ง เมื่อไห่นั้นอย่ากังวล ถึงเวล่าแล้วยอมเห็นเอง การบังเกิดของดวงนิ่งนั้น อุปมาเหมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เราไม่อาจจะเร่งเวลาได้ ๓. อย่ากังวลถึงการกำหนดลมหายใจเข้าออก เพราะการฝึกสมาธิเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายภายใน ออกชื่อการนี้ถึง “อโลฆกสิณ” คือ กสิณความว่าง เป็นบทเบื้องต้น เมื่อฝึกสมาธิจนเข้าถึงดวงปฐมบรรมรแล้ว ฝึกสมาธิต่อไป ผ่านกายมนุษย์ละเอียดยิ่ง ทายทิพย์ ทายรูปพรหม ทายอยู่พรหมจนกระทั่งเข้าถึงพระธรรมกายแล้ว จึงเจริญวิสาสะในภายหลัง ดังนั้น จึงไม่มีความจำเป็นต้องกำหนดลมหมายใจเข้าออกแต่ประการใด ๒๘๐
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More