การฝึกสมาธิเพื่อความสงบ คำไม่เล็กของคุณครูไม่ใหญ่ (มินิ) เล่ม 4 (สมาธิ...ลมหายใจของชีวิต) หน้า 278
หน้าที่ 278 / 288

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้นำเสนอวิธีการฝึกสมาธิด้วยการนึกถึงดวงแก้วกลมใส ขนาดเท่าแก้วตำบลเพื่อสร้างความรู้สึกสงบสุขทั้งกายและใจ เริ่มต้นที่ฐานที่ 1 จนถึงฐานที่ 7 โดยการนึกอย่างสบาย และวางอารมณ์ให้พร้อมก่อนที่จะเข้าไปสู่ภาวะแห่งความสงบ วิธีการนี้รวมถึงการใช้คำภาวนา "สัมมาอะระหัง" เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ภายในและนำมาสู่ความสงบที่แท้จริง

หัวข้อประเด็น

-การฝึกสมาธิ
-ดวงแก้วกลมใส
-ความสงบสุข
-ภาวนา
-ศูนย์กลางกาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หรือขมวดคิ้ว แล้วตั้งใจมัน วางอารมณ์สบาย สร้างความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจว่า กำลังจะเข้าไปสู่ภาวะแห่งความสงบสุขอย่างยิ่ง 4. นิยามกำหนดนิมิตเป็น “ดวงแก้วกลมใส” ขนาดเท่าแก้วตำำบลสีทิศ ตราสงครัยสุขี ปราศจากรอยตำหนิใดๆ ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดับประกายของดวงดาว ดวงแก้วกลมใสนี้ เรียกว่า บรรจุญนิมิต นึกสบายๆ นึกเหมือนดวงแก้วนั้น มานั่งสนิทอยู่ณ ศูนย์กลางกายฐานที่ 7 นี้ไปภาวนาอย่างนุ่มนวล เป็นพุทธานุสติว่า “ สัมมาอะระหัง” หรือค่อยๆ นอนนึกดวงแก้วกลมใสให้ค่อยๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐานโดยเริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่ 1 เป็นต้นไป นอนนึกอย่างสบายๆ ใจเย็นๆ ไปพร้อมๆ กับคำภาวนา ซึ่งเมื่ออาจิมิตดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกายให้วางอารมณ์สบายๆ กับนิยามนั้น จนเหมือนกับว่า ดวงอิมิตเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์ หากดวงอิมิตนี้อันตรธานหายไป ก็ต้องนึกเสียงดายให้วางอารมณ์สบาย แล้วนึกนิยมหินั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่ออิมิตนั้นไปปรากฏที่อื่น มีโสคศูนย์กลางกายให้ค่อยๆ นอนนึกเข้ามาอย่างค่อยไป ไม่มีการบังคับ และเมื่ออิมิตมาหยุดสนิท ณ ศูนย์กลางกายให้วางสติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More