ภัยและโยคะในชีวิต วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนมกราคม พ.ศ.2560 หน้า 66
หน้าที่ 66 / 101

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงภัยต่างๆ ที่มนุษย์ต้องเผชิญทั้งจากภายนอกและภายใน รวมถึงการวิเคราะห์โยคะในสี่รูปแบบที่ส่งผลกระทบต่อชีวิต เช่น กามโยคะ ความยินดีในสิ่งที่ปรารถนา, ภโยคะ การยึดถือในความสุขที่เกิดจากอารมณ์, ทิฏฐิโยคะ ความเห็นผิด, และวิชญโยคะ ความไม่รู้แจ้งในพระธรรม การฟันตกเครื่องผูกทั้งสี่เกลียวจะทำให้ถึงความสุขแท้จริง.

หัวข้อประเด็น

-ภัยจากคน
-ภัยจากธรรมชาติ
-โยคะสี่ประเภท
-จิตเกษม
-ความสุขที่แท้จริง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ภัยเหล่านี้รุนแรงอลวนเราทั้งซ้ายขวาหน้าหลังทุกด้านเลยที่เดียว ใคร ๆ ก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ 2. ภัยภายนอก มีอยู่บ้างในไม่กวนน เช่นภัยจากคน อาทิ ผิวร้าย เมียเหลว ลูกข้าว เพื่อนไม่ดี คนพลัด คนเกเร นั่นไม่เว้น ภัยจากธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ฟ้าผ่า ภัยจากอบายมุขตามทัน ถูกล้างผลาญทุกๆรูปแบบ อาทิ เคยเนียนเขียนสัตว์ ก็ทำให้เจ็บไข้ได้ป่วย พิการ เคโหกไว้มาก ก็ทำให้ความจำเลอะเลือน เคยปล่อยโง่เขา เขาจับได้ก็ถูกขังลงโทษ การที่เราเดินดุ่มอยู่ท่ามกลางวงล้อมของภัยทั้งหลายที่นี้ไม่หยุด เกิดแล้วตายตายแล้วตาย ก็ยังต้องรับทุกข์ภัยกันอยู่ว่าแสน ก้าวตามแล้ว ทั้งนี้เพราะถูกผูกด้วย "โยคะ" ซึ่งแปลว่า เครื่องผูกสัตว์ ไว้ในภาพมีอยู่ ๔ ประกา ร ได้แก่ 1. กามโยคะ คือ ความยินดีพอใจในทุก ๆ อยากฟังเพลงเพราะ ๆ อยากกินอาหารอร่อย ๆ ได้สวมใส่เสื้อผ้าสวย ๆ นุ่งนวมสวมสบาย อยากเห็นรูปสวย ๆ ได้สัมผัสที่นุ่มนวล ความใคร่ทั้งหลายเหล่านี้เป็นเหมือนเชือกเกลียวแรกที่ผูกมัดเราไว้ 2. ภโยคะ คือ ความยินดีพอใจในรูปภาพและอรูปภาพ คนที่พ้นเชือกเกลียวแรกพันจากโยคะมาได้ ก็มาเจอเชือกเกลียวที่ 2 นี้ คือ เมื่อได้เจอความสุขจากการทำใดสมองทำมักฉีกได้รูปนามหรือรูปนาม ก็พอใจยินดีดียู่ในความสุขจากอารมณ์ของมานตายับไปก็เกิดเป็นรูปทรมรณ์หรือรูปพรหม ซึ่งยังไม่พ้นภัย หมดบุญก็ต้องลงมาเกิดเองกันอีก นี้เป็นเหมือนเชือกเกลียวที่ 2 3. ทิฏฐิโยคะ คือ ความยึดถือความคิดเห็นที่ผิด ๆ ของตนเอง เช่น เห็นว่าพ่อแม่ไม่มีพระคุณต่อคนอื่น เห็นว่าโลกนี้โลกนี้ไม่มีจริงบ้าง เห็นว่าตนเองจะพ้นทุกข์ได้ด้วยการบวงสรวงอ้อนวอนบ้าง ใจยังมีดิ้นอยู่ ยิ่งไปหลงยึดความเห็นผิด ๆ อยู่ สิ่งนี้เลยเป็นเหมือนเชือกเกลียวที่ 3 4. วิชญโยคะ คือ ความไม่รู้แจ้งในพระสัทธรรม ความสงสัยของใจยังไม่พอ ยังไม่เห็นอรัศจะ ๔ ไม่เห็นทางพันทุกพันภัย นี่เป็นเหมือนเชือกเกลียวที่ 4 จิตเกษมคืออะไร? เกษม แปลวา ปลอดภัย พันธ์ สั้นเสล มีความสุข จิตเกษม จึงหมายถึง สภาพจิตที่หมดกิเลสแล้ว โยคะเครื่องผูกสัตว์ไว้ในภาพ เชือกทั้ง ๔ เกลียวได้ถูกฟันขาดซะมันเชื่อมให้คลอดตัว ไม่ดักดัน ไม่อึดอัดอีกต่อไป ไม่มียอด ๆ ๆ มาบีบันได้ก็จึงมีความสุขอย่างแท้จริง ฟื้นจากการเวียนว่ายตายเกิด ผู้ที่จะมิดเกษมได้อย่างแท้จริง คือผู้ที่ใจตรงกันเชื่อมอยู่ในพานตลอดเวลา ซึ่งได้แก่พระอรหันต์นั่น นอกจากจะหมดกิเลสแล้ว ยังทำให้มีความรู้ความสามารถผิดพลาดอีกหลายประการ เช่น วิชา ๓ วิชาญ ๑ อิฏิญาณ ๔ ปฏิสัมภิทาญ ๔
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More