ความตามญในพระพุทธศาสนา  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2562 หน้า 45
หน้าที่ 45 / 68

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เน้นถึงความตามญซึ่งเป็นคุณธรรมที่สูงส่งในพระพุทธศาสนา โดยระบุถึงบทบาทสำคัญในการศึกษาของผู้เรียน ความตามญช่วยส่งเสริมปัญญานำไปสู่การตีความพระสูตรสมาธิอรนุตร พร้อมอธิบายถึงการสนทนาระหว่างพระสัมมาสัมพุทธเจ้ากับจันทประภา โดยเนื้อหาสำคัญนั้นเกี่ยวกับหลักการฝึกสมาธิและคุณประโยชน์ของการมีจิตมั่นไม่หวั่นไหว การสละความสนใจในทางโลก เพื่อประโยชน์ต่อผู้อื่น นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงบุคลากรที่มีบทบาทในการศึกษาคัมภีร์สมาธิอรนุตรในสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ที่ศึกษาเพื่อนำมาสู่การพัฒนาจิตวิญญาณในทางพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-ความตามญ
-สมาธิอรนุตร
-การฝึกสมาธิ
-บทสนทนาระหว่างพระสัมมาสัมพุทธเจ้ากับจันทประภา
-คุณค่าของการมีจิตมั่น
-การดำรงตนในทางสายกลาง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อันความตามญนั้น เป็นคุณธรรมที่สูงส่งยิ่งนัก สำหรับผู้เรียนแล้วพบว่า ด้วยการที่เราได้มองละก็ถึงความตามญนี้จึงสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรา หรือด้วยการที่เราได้มองละก็ถึงคำตอบอันละก็ของครูบาอาจารย์ของเราอยู่เสมออย่างนั้นบ่อยครั้งด้วยอานุภาพของความตามญนั้น มักนำพาให้เกิดแสงสว่างแห่งปัญญาขึ้นเนื่อง ๆ โดยเฉพาะในหลาย ๆ ครั้งที่อยู่ในระหว่างการศึกษาพิจารณาข้อหรือประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมหาปะฐิยาธาร ด้วยความตามญต่อท่าน ก็มีอานุภาพให้เมื่ยนนเกิดพุทธิปัญญาที่ชัดเจนขึ้น และนำพาให้การกิจหรืองานนั้น ๆ ลุล่วงไปได้อย่างดี ในเรื่องของสมาธิอรนุตรเป็นเดียวกัน ถือเป็นพระสูตรในยุคแรก ๆ อีกพระสูตรหนึ่งในพระพุทธศาสนา ซึ่งไม่ปรากฎนามผู้จนา สันนิษฐานว่าน่าจะอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 2-6 รูปแบบการดำเนินเรื่องราวเป็นการถามตอบระหว่าง “จันทประภา” กับพระสัมพุทธเจ้า รูปแบบการจากเป็นร้อยแก้วผสมร้อยกรอง โดยร้อยแก้วนั้นใช้ภาษาสันสกฤตมาตรฐานตามไวยากรณ์ของปาณิณิ ฎนะที่อธิบายเทคนิคซึ่งใช้ภาษาสันสกฤตผสม มีเทวายกองค์ทั้งสิ้น 2,065 โศลก วัตถุประสงค์ในการจากคือ การแสดงถึงคุณค่าของศูนย์ตา การสอนให้เข้าใจการมีจิตมั่นไม่หวั่นไหวต่อโลกธรรม การดำรงตนอยู่ในทางสายกลาง มักมีมาปฏิบัติว่า “สมาธิอรนุตร” นี้ ถือกันว่าเป็นพระสูตรที่นำเสนอเกี่ยวกับ “หลักการชั้นยอดในการปฏิบสมาธิ” หรือ มาย่านยอด จึงถูกเรียกว่า “สมาธิอรนุตร” โดยเฉพาะในเนื้อหาที่เป็นการสนทนากันระหว่าง “จันทประภา” กับพระสัมพุทธเจ้านั้น มีเนื้อหาหลัก ๆ ที่สำคัญเกี่ยวกับหลักปฏิบัติ ต่าง ๆ ของพระบรมโพธิสัตว์ โดยเฉพาะในเรื่องของการฝึกสมาธิ ซึ่งมีอยู่หลายหลาย เช่น การใช้ “พุทธานสมฐิติ” (พุทธานสมติ) หรือการน้อมรำลึกถึงถึงพระสัมพุทธเจ้า การสละความสนใจในทางโลกอย่างสิ้นเชิง การมีความกรุณาต่อสรรพชีวิตรอบตัว หรือการออมสะสมแม้ชีวิตของตนเพื่อประโยชน์ต่อผู้อื่น เป็นต้น กล่าวในส่วนของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) เองนั้น ก็ต้องถือว่ามีบุคลากรอย่างยิ่งยวดเช่นกันที่ได้ดำเนินงานของสถาบันถึง 2 ท่าน (คือ พระเกียรติศักดิ์ กิตติปัญโญ และพระวรัทยา เตาชุไร) ผู้เคยศึกษา ค้นคว้าคัมภีร์สมาธิอรนุตรนี้มาแล้ว โดยที่พระเกียรติศักดิ์ได้ศึกษาเจาะทะลุสมาธิอรนุตรเป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาโทจากมหาวิทยาลัย Cambridge ประเทศอังกฤษ โดยค้นคว้าใน Version ภาษาจีน ขณะที่พระวรัทย์ได้ศึกษาจากคัมภีร์าจาก ด้วยอักษรพราหมี พบที่บุพบากิลกิตติมามี ซึ่งอายุช่วงคัมภีร์ราว 1,000-1,400 ปีเดียว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More