ข้อความต้นฉบับในหน้า
คัมภีร์ที่จารึกด้วยอักษรพราหมี พบที่หุบเขากิลงคลิม
ซึ่งมีอายุชั้นคัมภีร์ราว ๑,๓oo-๑,๔oo ปีเดียว
ปัจจุบันคัมภีร์ชุดนี้เป็นสมบัติของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI Collection)
เป็นที่น่าสนใจว่า โดยสาระหลักของสมาธิรามสูตรซึ่งให้ความสำคัญกับการตรึกระลึกถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นอารมณ์ การวางใจเป็นกลาง ๆ ไม่มิเกาะกับสิ่งอื่น คือโลกธรรมทั้งปวง นั้น ล้วนสอดคล้องอย่างมีนัยสำคัญกับพระธรรมเทสนาของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทะโร) หลวงปู่วรนาถา ภาวเจริญ ครูผู้ค้นพบนิทธรรมกายอย่างยิ่ง ท่ีสมาธิรามสูตรนี้เคยได้รับการเผยแพร่หรือทอดอาบายังฝืนแผ่นดินสุวรรณภูมิขึ้นมาก่อน (โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทยของเรา) ยิ่งไปกว่านั้นเป็นพระสูตรที่ถูกค้นพบในแถบเอเชียกลางด้วย แต่เมื่อพิจารณาจากถ้อยคำในศาสนาแล้ว ก็สร้างความคืบหน้าให้แก่ผู้ฝึกปฏิบัติและลูกหลานของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทะโร) ครูผู้ค้นพบวิชาธรรมกายไม่น้อย ดังความตอนหนึ่งว่า ....
ปรวรรธที่ ๔ พุทธานุสติ ปรวรรต
(ว่าด้วยการตามระลึกถึงพระพุทธเจ้า)
“ก็พระโพธิสัตว์ดำรงอยู่เฉพาะในสมาบัตินี้แล้ว จงกรมอยู่ที่ตรงกรม ย่อมเห็นพระพุทธเจ้า มีล้านบุบ รึมมากกว่าผายในแม่น้ำคงคา ผู้ดำรงมั่นอยู่ในธรรมภายู ภาวะทั้งหมดไว้ในภาวะ ทำให้แจ้งความรู้พร้อมในภาวะแล้ว ยอมไม่เห็นพระผู้เป็นจอมแห่งผู้ชนะด้วยรูปภาย”
“เราบอกและแจ้งให้จิตชั้นมีธรรมภาย้นเป็นนิมิต ย่อมเป็นไปตามที่ตนได้จีรณมากด้วยความตรึกตรองที่อาศัย (คือฝึกไปตาม) ธรรมภายเหล่านั้น”
“เมื่อพระลิถึงพระจอมมัจฉาอย่างนี้ และรู้จักโดยอาการที่ปรากฏมิได้และเมื่อเจริญสมาธิตลอดเวลา จิตก็จะน้อมตรงไปหา พระจอมมุนีนี้นั่น”