การศึกษาและเข้าใจคำสอนของพระเดชพระคุณหลวงปู่  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2562 หน้า 48
หน้าที่ 48 / 68

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการศึกษาคำสอนของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทสโร) และความสำคัญของการปฏิบัติธรรมตามแนวทางของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สาระหลักเน้นให้เห็นถึงคุณค่าของพระธรรมกายในตัวเรา ประกอบด้วยข้อความจากพระธรรมเทควาที่เผยแพร่ในช่วง พ.ศ. ๒๔๗๙ และเชื่อมโยงกับการรักษาสมาธิและการเห็นคุณค่าของธรรมในชีวิตจริง ดำเนินการศึกษาโดยอ้างอิงหลักธรรมที่กล่าวถึงในพระพุทธศาสนา โดยมีการเชื่อมโยงระหว่างคำสอนของหลวงปู่กับแนวทางการปฏิบัติธรรมนำมาสู่การเข้าถึงธรรมอย่างแท้จริง ซึ่งทุกคนควรต้องมีความเข้าใจเพื่อหลีกเลี่ยงการหลงทางในกระแสต่างๆ ที่อาจเบี่ยงเบนออกไปจากหลักธรรมที่ถูกต้อง มีการกล่าวถึงการตระหนักรู้ถึงพระรัตนตรัยและคุณค่าที่ควรพิทักษ์รักษา รวมถึงการตระหนักถึงธรรมกายซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญต่อการปฏิบัติธรรมเพื่อการหลุดพ้นในชีวิตนี้

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติธรรม
-คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
-คุณค่าของพระธรรมกาย
-การรักษาสมาธิ
-บทวิเคราะห์พระธรรมเทควา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ข้อ คำในโศกส่วนใหญ่มักมีลักษณะที่อธิบายถึงคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในลักษณะเช่นนี้เอง และเป็นที่น่านิจฉาอย่างยิ่งว่าเป็นคำอธิบายที่เป็นไปในทางเดียวกับพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทสโร) แทบทั้งสิ้น ทั่งนี้แม้จะเลือกพระธรรมเทควา ของท่านมาพ็บบทใบทหนึ่ง ตอนใดตอนหนึ่งที่แตกต่างกัน เช่น พระธรรมเทสนาเรื่อง "สมาธิ" (วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๙) พระธรรมเทนาเรื่อง "รัตนสุร" ซึ่งด้วยพุทธะตนเอง วันที ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๙ หรือพระธรรมเทนาเรื่อง "รตนตุตยคมนปานกาศ" การนอนน้อยถึงพระรัตนตรัย (วันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๙) นั้น ก็จะพบว่ามีสาระหรือใจความสำคัญที่เน้นให้เห็นถึงการปฏิบัติธรรม (ธรรม) ให้เป็นไปตามรอยทางของพระบรมศาสดา ทั้งนี้โดยมีได้เป็นเพียงข้อความแบบบริบทอย่างเดียว แต่อย่าละเลยหาครรกลิ่นรอยกันทั้งปริอิต ปฏิบัติ และปฏิเวธไปพร้อม ๆ กัน และที่สำคัญ มีการกล่าวถึงคุณของการตามระลึกนึกถึงคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าดังเดิมที่ปรากฏในสมาธิรัษฏด้วย ที่ที่สมาชิกสูตรนั้นเป็นคัมภีร์บรรดามือเก่า ๆ ย้อนไปใกล้วุ่ยกษ์ของพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ นั้นนั่นพันปี ถือว่เป็นสิ่งคงครรย์ ทั้งนี้ จากการศึกษาพระธรรมเทควา ของพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ ผู้เขียนขอโอกาสยกข้อความบางตอนจากรัตนสูตรมาแสดงไว้ดังนี้ "ทำไมรู้ว่าพระตถาคตผู้นั่น คือ พุทธจดนะ ธรรมจดนะ สังสตะนะ พระองค์รับสั่งกับกูกัลกิฏูว่า อนึ่ง ภูฏ ภูกัล วิภาคังจอออกไป อิมิ ปฏิคาย ทสุษณ มาด ไยเถ้างร่างกายของตถาคตอันเป็นของเปื่อเน่า โย โป ภูกัล ธมม ปสุตโต โส ม ปสุตโต แน่ะ ลำแดงกัลิผู้ใดเห็นธรรมผู้นั้นเห็นเราตถาคต มุมาโโย อะ อิติ ภาคคติอธิษฐานตอธรรมกาย" "...ที่เราเข้าถึงธรรมกายแล้วนี้เป็นตัวนะสูง... รัตนะในพื้นมนุษย์ หรือเป็นรัตนะในพื้นสวรรค์ ชั้น หรือรัตนะในพื้นพรม ๑๖ ชั้น หรือรัตนะในอุปโพธิ์พรหม ๔ ชั้น ...ที่เป็นวิญญาณรัตนะก็ดี อิทธิ ดิต ตถาคตคือนิรันดรณ์อันมั่นคง" เมื่อเราพิจารณาถึงข้อความในพระธรรมเทควาของพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ นี้ เราจะเห็นได้ว่า สาระหลักของข้อความที่ยกมาแม้จะเป็นการกล่าวร่องในพระธรรมกายซึ่งเราทุกคนต่างคุ้นเคยจริง และเป็นข้อความที่กล่าวจะให้เห็นถึงคุณค่าของพระธรรมกายที่มีอยู่ในตัวของเรา ซึ่งว่าไว้ในปฏิวัติไฉริง ก็จริง หากแต่สีเข็มกันจะหวัพระธรรมเทวนาคตของพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ กับ "สมาธิธสูตร" คืออะไร ? คำตอบคือ การใช้เห็นว่าทุกสิ่งในโลกทั้งปวง (รวมทั้งสวรรค์และพรหมทั้งหลาย รวมทั้งสมบัติและรัตนะแท้เป็นอัญมณีค่า) ซึ่งแต่เทียบไม่ได้เลยกับการตรีกะลิขิตอัญญวณ (คือ พระพุทธเจ้าที่ดำรงอยู่ภายใน) เทียบไม่ได้เลยกับการทำใจองเราให้ตั้งมั่นอยู่ในองค์ อุณฺ ยในสมาธิ ฯลฯ อื่น ๆ คามหัตถจรรย์ของการที่เนื้อในสมาธิรัษฏังซึ่งเป็นอยู่เท่าเทียมกันในสมาธิรัษฏังซึ่งเป็นอยู่เท่าเทียมกันในปฏิวัติไฉริงก็จริง เพราะปฏิวัติไฉริงก็จะมีความสอดคล้องเป็นไปในทางเดียวกันกับพระธรรมเทควาของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทสโร ด้ที่เราเห็นนี้ ก็ความนับว่าเป็นสิ่งที่ควรเกร็กรับบันทึกไว้จักประการณ์ ซึ่งนี้เพราะความสอดคล้องกัน เช่นนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More