การจัดการกับความวิตกกังวลในยุคโควิด-19  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน เมษายน พ.ศ.2563 หน้า 33
หน้าที่ 33 / 64

สรุปเนื้อหา

ท่ามกลางการระบาดของโควิด-19 หลายคนวิตกกังวลและเกิดอาการแพนิค แต่การปฏิบัติธรรมสามารถช่วยให้เรามีจิตใจที่ผ่องใสและป้องกันความเครียดได้ หากเราเครียดเกินไปจะส่งผลให้ชีวิตดึงดูดสิ่งไม่ดี แนะนำให้รักษาจิตใจให้ผ่องใส โดยวิธีการหยุดคิดในสิ่งที่เป็นลบและกลับมายังจุดศูนย์กลางของตนเอง เพื่อสร้างความสงบจิตใจและดึงดูดสิ่งดีๆ เข้ามาในชีวิต แนะนำการใช้หลักธรรมตามที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าสอนไว้

หัวข้อประเด็น

-วิกฤตโควิด-19
-การปฏิบัติธรรม
-การดูแลสุขภาพจิต
-การจัดการกับความวิตกกังวล
-จิตใจผ่องใส

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ท่ามกลางการแสกนแระบาดหนักของเชื้อโควิด-19 ที่ดินทั่วโลกในขณะนี้ ทำให้หลายคนวิตกกังวล เกิดอาการแพนิค (Panic Attacks) คือ หวาดกลัวยังรุนแรงกันไปเลย แต่ในฐานะนักปฏิบัติธรรมเราก็ต้องทำให้ถูกหลักวิชา คือ อย่าประมาท ให้ป้องกันตัวตามที่แพทย์แนะนำอย่างเคร่งครัด แต่ถ้าไปเครียดหรือวิตกกังวลจนแทบจะเป็นโรคประสาท เพราะถ้าเราป้องกันอย่างเต็มที่หรือทำดีที่สุดแล้ว หากอะไรจะเกิดก็ต้องเกิดในเมื่อสัตว์โลกอ่อนเป็นไปตามกรรม แต่ถ้าเรากังวลหรือคิิดนึกไปก่อน สภาพใจจะหมองไม่ผ่องใส ซึ่งสุขใจเช่นนี้จะมีกระแสไปดึงดูดสิ่งไม่ดีเข้ามาหาตัวเราเอง ๗ แล้วสภาพที่หมองหรือส่งผลไปดูดวิบากรรมในอดีตที่เคยทำมาให้ได้รับส่งผล ชั่วร้ายไปกว่านั้น หากเราวิตกกังวลอย่างต่อเนื่องนานมากเท่าไร ก็จะยิ่งไปดึงดูดแต่สิ่งไม่ดีเข้ามาทับทบมากขึ้นเท่านั้น ดังที่ คุณยายอาจารย์มหาจันทร์ ขนหนูก เคยสอนไว้ว่า..อย่าคิดน่าไปทางไมดี ถ้าคิดอย่างนี้แล้วใจจะตก มาจะแทรกผังสำเร็จใส่ทันที ทำให้เรื่องที่ยังไม่มลายกลายเป็นเรื่องร้ายทันที ยิ่งคิดจะยิ่งเสีย ดังนั้นเมื่อเกิดเรื่องให้เราทำหยุดที่ศูนย์กลางกายอย่างเดียว แล้วสามารถแก้ไขได้... เห็นไหมคะ..การทำใจวิตกกังวลจนเกิดเหตุขึ้นไม่คุ้มกันเลย ด้วยเหตุนี่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสสอนเสมอว่า ให้เราทำจิตให้ผ่องใส เพราะเมื่อใจผ่องใสจะมีพลานุภาพไปดึงดูดแต่สิ่งดีๆ มาสู่ชีวิต เหมือนแม่เหล็กย่อมดึงดูดเหล็ก แต่แม่เหล็กไม่ดึงดูดพลาสติก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More