ข้อความต้นฉบับในหน้า
อุทัยบุญ
อ่านอดีต ขีดอนาคต
เรื่อง : พระมหาพงศ์ศักดิ์ ฐานิโย, ดร.
ย้อนอดีต...ท่องประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
ตอนที่ ๒๔ : มรรคทางภูมิปัญญาในบทสนทนาก่อนพุทธรำพาน
ในค่ำคืนสุดท้ายก่อนที่พระพุทธองค์จะทรงปรินิพพาน สุกททปรินิพพาน ได้มุ่งเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเพื่อทูลถามปัญหาที่ค้างคาใจมานาน ซึ่งในบทสนทนาการถามตอบนี้ แฝงไปด้วยความลุ่มลึกและพระอัจฉริยภาพของพระพุทธองค์ ที่พุทธศาสนิกชนควรศึกษาเป็นอย่างยิ่ง สังกทุโรราชได้นำถามพระผู้มีพระภาคว่า "เข้าสเตพระโคดมผู้เจริญ สมุทรพาหุ ฯ" ที่เป็นเจ้าหน้าที่ เป็นอาจารย์ มีอิทธิฤทธิ์เดชตต์ เป็นเจ้าหน้าที่ ประชาชนยกย่องกันว่าเป็นคนดี ได้แก้ ปรุงกลสา บำบัดโศกา อติทักษา ปฏิภาคจา ฯลฯ ลำดับพระคุณครูเจ้าของคำถามบทนี้ตามที่ตรัสกล่าว หรือไม่ได้ตามที่ตนกล่าวอ้างหรือบางพวกบอก บางพวกไม่รู้ (ที่ มหา. ๑๐/๒๑๓/๑๖๒ ไทย.มจร)
คำว่า "รู้เห็นตามที่ตนเองกล่าวอ้าง" นั้นหมายถึงการบรรลุมรรคผลนิพพาน หมดกิเลส เป็นพระอรหันต์ ถ้าจะมีใครมาถามเราว่า "เจ้าสำนักนั้น เจ้าสำนักนี้" รู้เห็นตามที่ตนเองกล่าวอ้างหรือไม่" เราจะตอบกลับไปว่าอย่างไร (ลองคิด คำตอบดู) แล้วมาตามดูว่าพระพุทธองค์ตรัสตอบอย่างไร
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า "สุภทฺธ อย่าเลย เรื่องที่เจ้าถามว่า "เจ้าสำนักเหล่านั้นทั้งหมด" ตามที่ตนกล่าวอ้าง หรือไม่ตามที่ตนกล่าวอ้าง หรือบางพวกไม่รู้' อย่าได้สนใจเลย เราจะแสดงธรรมแก่เจ้า เจอจงฟัง จำกัดใจให้ได้ดี เราจะกล่าว... สุภทฺธ ในธรรมวนทีในไม่มีอริยมรรคนึง๘ ย่อมไม่มีสมณะที่ ๑ (พระไสดาบัน) ย่อมไม่มีสมณะที่ ๒ (พระสกทาคามิ) ย่อมไม่มีสมณะที่ ๓(พระอนาคามิ) ย่อมไม่มีสมณะที่ ๔(พระอรหันต)..." (ที่ มหา. ๑๐/๒๑๓-๒๑๖ ไทย.มจร)
พระพุทธองค์ตรัสบอกสรุปว่าง่า "อย่าเพิ่งสนใจว่าเจ้าสำนักเหล่านี้จะรู้จริงหรือไม่" เพราะถ้าพระองค์จะตรัสตอบออกไปตรง ๆ สุภทฺธหรือผังในภายหลัง ก็อาจคิดไปว่า "พระพุทธองค์กล่าวให้ร้ายผู้อื่น" ซึ่งไม่เป็นผลดี แต่พระมีพระภาคกลับแสดงถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นไปเพื่อบรรลุผลนิพพาน คือ อริยมรรคนึง๘ โดยมีสัมมาทธิภู คือ ตั้งแต่ คำตอบนี้ทำให้ท่านสุภทฺธ ได้คำตอบว่า "คำอธิฐานมีมีเรื่องอริยมรรคนึง๘ คำสอนนี้มีผู้บรรลุ มรรคนผลิพานอยู่อจริง" และเท่านั้นเป็นการบอกว่า "คำสอนของเจ้าสำนักถึง ๕ นั่น หามได้มีผู้บรรลุมรรคนผลิพบานอยู่อจริงไม่"
บทสนทนาในหลักฐานนี้ มีปฏิภาณอยู่มากในพระสูตรต่าง ๆ โดยมากเป็นการสนทนา ระหว่างพระพุทโธก์กันเป็นนาน ๆ พระพุทธศาสนา เป็นลักษณะของการพูดให้ผู้ฟังได้คิด ได้พิจารณาได้ตรง ๆ ไม่มีการอักอร้ายแต่ประการใด สมัยเราท่านทั้งหลายจะได้ศึกษ เพื่อเป็นแนวแผนดีงานในการทำหน้าที่กล่อมมิต่อไป