ข้อความต้นฉบับในหน้า
Study on Early Medieval Chinese Buddhist Meditative Techniques and Visionary Experiences) เป็นวิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิต (Master of Philosophy; MPhil in Asian and Middle Eastern Studies) ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้ เป็นงานที่ยอดจากการศึกษาวิจัยของท่านเองที่ SOAS (University of London) ด้วย เนื้อหาหลักของงานวิจัยชิ้นนี้คือการศึกษาวิธีการทำสมาธิทางพระพุทธศาสนาของจีน เมื่อประมาณ ค.ศ. 220-588 ซึ่งพบว่าหลายรูปแบบหลายวิธีการด้วยกัน และบางวิธีการอาจเชื่อมโยงย้อนกลับไปถึงบริเวณพื้นที่เอเชียกลางและอินเดียด้วย ส่วนวัตถุประสงค์ของงานวิจัยชิ้นนี้คือการสำรวจและวิเคราะห์เทคนิคการทำสมาธิจากสารปฐมภูมิ (คัมภีร์ต่าง ๆ) ของจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งคัมภีร์ต้นฉบับเขียนคู่มือฝึกสมาธิหวง S.2585 ซึ่งมีชื่อเต็มว่า คัมภีร์โฟ่วจั้วจริง (Foshou guan jing 佛說觀經; T.2914) คำย่อคือ GJ ประกอบกับการสำรวจเอกสารฎทฺูมิอันจะนำไปสู่ความเข้าใจประสบการณ์เชิงภาพทัศนในสมาธิของพุทธศาสนาในประเทศจีนที่สมบูรณ์มากขึ้น
อย่างชัดเจนว่า การรวมจิตให้ตั้งมั่นเป็นหนึ่งไว้ที่กลางนาภี นั้น เป็นประเด็นประไปสู่ความก้าวหน้าของสมาธิและการตื่นรู้ เป็นทางสายกลางสำหรับการเดินทางภายในกายสู่การสิ้นสุดของสังสารวัฏด้วยอย่างชัดเจนทั้งนี้ จากการศึกษาวิจัยของพระเกียรติศักดิ์ กิตติปญโญ ยงพิจารณา ยงพิจารณา ยงพิจารณา ยงพิจารณา จากการศึกษาเกี่ยวกับศิลปะฝีมือนิยม ซึ่งเป็นวิธี "รวมจิตให้เป็นเอกภาพตามแล้วนิยามมิต พระพุทธเจ้า" (yixin guanfo —心觀佛) โดยเริ่มจากการฝึกให้ผู้ปฏิบัตินิยมนิยม พุทธลักษณะของพระรูปายของพระพุทธเจ้า เป็นอันดับแรก ซึ่งคล้ายคลับคลำคำตอบของพระเดชพระคุณพระจุลเทพมหา คณบดี กรมภพันธุ์ ๒๕๓๙ อยู่ในบุญ ๖๕
4 ถอดความและเรียบเรียงโดยคาศัตราจารย์สัญญา ลุบุรณัตติ ภาใต้ให้หัวข้อบทความเรื่อง "ภาพทัศนียภาพอัศจรรย์ในพุทธานุศรีและธรรมกาย"
กุมภาพันธ์ ๒๕๓๙ อยู่ในบุญ ๕๕