ข้อความต้นฉบับในหน้า
อัปปนาบูญ
อ่านอดิศติ ข้อบากค
เรื่อง : พระมหาพงศ์ศักดิ์ ถาจนโย, ดร.
ย่ออดีต...ทอดประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
ตอนที่ ๒๖ : ความอัศจรรย์ของสังเวชนียสถาน
ภายหลังจากพระ พุทธองค์ทรงปล่อยสังเวชนียสถาน ณ ปวาลเจดี พระผู้มิจจะภาคเจ้าพร้อมด้วยพระภิษุสงฆ์ใหญ่ ได้เสด็จไปตามลำดับจนถึงสาลวันของพวกเจ้ามัลละ อันเป็นทางเข้าสู่นิพพานา ณ ที่แห่งนั้น พระพุทธองค์ได้ตรัสถึง สังเวชนียสถาน ดังใจความในมหาปุรินิพพานสูตร ที่ว่า
“อนันท์ สังเวชนียสถาน ๕ แห่งนี้เป็นสถานที่ทุบุญดุผู้มีศรัทธา ควรไปบูชา ฆ่าฆ่า ผู้มีศรัทธาจะมุ่ง ด้วยระลึกว่า *ตกตาคประสูติในที่นี้* ...ว่า *ตกตาคได้ตรัสอุบัติสุตตสัมผัสในนี้* ...ว่า *ตกตาคประทานครบจบอร่อยเยี่ยมในนี้* ...ว่า *ตกตาคได้เสด็จขึ้นบรรพมิพานด้วยอนุปาทเสนาสน equipนนี้*
อนันท์ ชนเหล่าใดเหล่านี้จงไปยังเจดีย์แห่งจิตใจเลื่อมใส ตายไป ชนเหล่านี้ทั้งหมดหลังจากตายแล้วจะไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์* ( ที่ มห. ๑๐๑๒๓/๑๐๑๙ แปล.มจร)
สังเวชนียสถานทั้ง ๕ แห่งนี้กล่าวคือ สถานที่ประสูติ ตรัสรู้ แสดงพระปุมเทนา และปริเนษพาน นั่นเอง โดยทั่วไปเมื่อเรานึกว่า สังเวช ในภาษาไทย มักจะเป็นความหมายที่ส่งไปทางลบ เช่น สมเพช สงสาร หดหู่ แต่แท้ที่จริงแล้ว คำว่า สังเวช ในภาษาบาลีมีอีกความหมาย คือ พรั่งพร้อมกำลังใจ (จิต-อำน) ดังนั้น คำว่า สังเวชินียสถาน นอกจากจะหมายถึง ถีนณสถานที่ทำให้เกิดความลดใจ ยังหมายถึง ถิ่นสถานที่ทำให้เกิดกำลังใจ อันพร้อมรอ เพราะแม่พระพุทธองค์ผู้เผยพระพุทธคุณ ๙ ประการ ก็ยังไม่อาจหลีกพ้นจากความตาย (ดับบันลปิรวิทพาน) ไปได้ ในเลยปุจฉานุนี้เราสามารถหลีกหนีไปได้ เมื่อความสงบย่านว่าดีเกิดขึ้นแล้ว ย่อมทำให้เกิดกำลังใจในการสั่งสมคุณงามความดีและความไม่ประมาทในการดำเนินชีวิตอีกด้วย
นอกจากนี้ สังเวชนียสถานทั้ง ๕ แห่ง ยังเป็นสถานที่รวมตัวและรวมใจของพุทธบริษัท ทั้งหลายให้เกิดความจริงใจ เปรียบเสมือนกับได้เข้าเฝ้าถวายพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ยกที่จะแสดงสักที่ในโลกนี้ประกอบด้วยความสงบสังเวช ควบคู่ไปกับการเกิดกำลังใจในการสั่งสมคุณงามความดีนี้ไม่ได้ประมาทในเวลาเดียวกัน จึงเป็นความอัศจรรย์อีกประการของสังเวชนียสถานทั้ง ๕ แห่งในพระพุทธศาสนา