ข้อความต้นฉบับในหน้า
และยังมีบทบวีนำการถวายพระธรรมกายว่า
อิ่ม สมุฏฐานพุทธคลุทจน์ โยคาวาจรุกนุตเต นิติขฺฺบาน สุพฺพุทธฺภาว ปิดฺเทนตน
ปุนปุนอนุสรติพฺพ ฯ สุพฺพุทธฺภาวนา นาม กํ ฯ
แปลความว่า พุทธลักษณะอันเป็นธรรมกายนี้ อันพระโยคาวาจรุกนุตร ผู้มีญาณ
อันแข็งกล้า ซึ่งปรารถนาความเป็นสัพพัญญูภาวะ พึงระลึกถึงเนือง ๆ
ซึ่งเราอาจเรียบบทบทสุดท้ายคาถาธรรมกายทั้ง ๒ บทนี้ว่า บทประมวลความ
ส่วนแรกของคาถาพระธรรมกายหรือบทพระนามพบทจากพระบาลีในส่วน
เอนนิมิต เอตคํคะ วรรคที่ ๔ พระสูตรที่ ๑๐ ของโนรานุปฏิปัน ซึ่งเป็นคำภิรัชถวรฏกถาอธิบาย
ความในอังคุตตรนิกายแห่งพระสตถุนันปิจก ซึ่งพระพุทธโอฬารเป็นผู้เรียบเรียงขึ้น โดยอาศัย
อรรถกาเก่ากวางาสิงหสิ ที่มาบแต่เดิมเป็นหลัก เมื่อรวมา พ.ศ. ๑๐๐๐ เป็นคาถาที่พระสาตเทเกะ
ผู้เป็นเอตทัคคะทางโทษาณได้กล่าวให้พญานาคดูร้ายผู้ค่อยก้าห้ามเมืองโกลีพีฟัง
หลังจากทรมานให้พญานาคะละวัดด้วยเทวดาสิ้นแล้ว สิ่งที่น่าสนใจคือ คาถานี้ปรากฏเฉพาะ
ในอรรถกถาจบยามัฐฉบับมหาจุฬาฯ และฉบับพม่่า แต่ไม่พบในฉบับสิขพฺ
หากจะกล่าวไปแล้ว เรื่องราวของคาถาธรรมกายนี้ เป็นที่รู้จักของพุทธศาสนิกชน
ชาวไทยมานานแล้ว หลักฐานทางโบราณคดีเก่าแก่ที่ปรากฏคาถาพระธรรมกาย ได้แก่
ศิลาจารึกหลักที่ ๕๔ (จารึกพระธรรมกาย) ระบุ
พุทธศาสตรา ๒๐๒๗ แผ่นดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
แต่เป็นที่น่าเสียดายว่าศิลาจารึกดังกล่าวหักริญรอด
เหลือเพียง ๙ บรรทัด ส่วนหลักฐานคาถาธรรมกาย
ที่ประกอบด้วยบทพรรณนาและบทประหลาดความ
ครมสมบูรณ์ ได้แก่ จารึกลานเงินประกันทองคำที่บรรจุ
อยู่ในเจดีย์พระศรีสรรเพชญดาญาณ วัดพระเชตุพนฯ
กรุงเทพฯ