นอกจากนี้พระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้ปราถด้วยธรรมกาย ทั่วสรรพางค์กาย ในบทที่ ๑๓ มี ๑๖๐ บาท เป็นบทที่เนื้อที่เหลืออยู่ว่างที่สุด บทที่ ๘๘ กล่าวว่ากายแห่งพุทธะ คือธรรมกาย บทที่ ๑๒๒ กล่าวถึงเหตุผล ๕ ประการ ของการมีชีวิตที่ได้ประเสริฐในวัฏสงสารหนึ่งในนั้นคือ การเข้าถึงธรรมกาย อันประเสริฐ บทที่ ๑๒๗ ชี้ว่า ชีวิตระดับโลกตระกูลคือการได้พบธรรมกาย บทที่ ๑๓๐ สมาชิกในปฏิรูปามสมาบัติคือสิ่งที่ดีที่สุด ดังนั้นกำลังแห่งจิตอินทิบาท และธรรมกายของพุทธเจ้าจะทำให้บุคคลพบจุดมุ่ง บทที่ ๑๓๙ ธรรมกาย แห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายไม่มีระกะเป็นของสูงส่ง ปัญญาและบุญอยู่มังเกิดแก่เขาทั้งหลาย ทั้งนี้เนื้อหาในบทอื่น ๆ ก็ยังมีที่น่าสนใจอีกเป็นจำนวนมาก เช่น ในบทที่ ๒๒ ซึ่งเป็นบทที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของคัมภีร์ Zambasta ซึ่งเนื้อหาเทียบได้กับคัมภีร์อนาคตวงศ์ ในภาคภาษาบาลีหรือในตรียวกะในภาคสันสกฤต โดยระบุถึงการเสด็จมาของรัฐอุของพระศรีอริตเดตรีสัมสัมพุทธเจ้า คุณค่าของการบำเพ็ญบุญในพระรัตนตรัย มูลเหตุของการที่กินทั้งหลายจะได้เข้าสถรรร (เข้าถึงภายในสำเร็จด้วยวาระ) หรือ บทที่ ๒๔ ซึ่งเป็นบทสุดท้ายของคัมภีร์นี้กล่าวถึงพระประวัติช่วงต้นและการล่มสลายของศาสนาในอนาคต เป็นต้น จาก "รายงานการสืบค้นคัมภีร์ The Book of Zambasta" นั้น สิ่งที่เราได้จากการสืบค้นประการแรกนั้น คือหลักฐานที่สามารถยืนยันถึงความมีอยู่จริงของเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมกายอย่างมีมิติองสลัย แต่ที่ย้อนไปกว่านี้ก็คือ "หลักฐานธรรมกาย" ซึ่งเป็นสิ่งเต็มเต็มในทางประวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนา (อันเกียวกับการปฏิบัติเพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย) เพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน จะเห็นได้ว่าการวิจัยของเราแต่ละท่านที่ได้พบหลักฐานธรรมกายเพิ่มมาครั้งใด ผลวิจัยแต่ละครั้งนั้นก็เกี่ยวพันกับเรื่องราวของ "พุทธกายภายใน" ในจำนวนต่าง ๆ ทุกครั้งไป ทั้งที่หลักฐานแต่ละชิ้นพบก็อยู่ต่างสถานที่ ต่างยุคสมัยกันทั้งสิ้น ซึ่งสะท้อนให้เราระลึกรู้ถึงธรรมะที่ไม่จำกัดด้วยกาลเวลา ดังว่าจะพระบาลีที่ว่า "อกาลิโก เอกนิสสิโก โอนินิโก ปจฺจตฺต เวทิตพฺโพ วิญญูที" ได้อยู่เสมอ (อ่านต่อฉบับหน้า)
The Book of Zambasta is Professor Bailey's name for a collection of aka-Khotanese texts hitherto designated as E. The texts were first published in Berlin by E. and M. Leumann in the period 1933
กันยายน ๒๕๖๑ อยู่ในบุญ ๔๗