ข้อความต้นฉบับในหน้า
พระมหากษัตริย์คุณต่อความโลก จึงทรงแสดงธรรมเหล่านั้นเพื่อให้ชาวโลกได้ปฏิบัติตาม ไม่ต้องเสียเวลาลงผิดลงถูกกันด้วยตนเอง
“สัจจะ” ธรรมประการแรกในบทวาสกรรม คือบทที่ใช้เพื่อเพื่อเป็นตัว ธรรม ให้ทำสิ่งใด ด้วยความจริงใจ ทั้งต่อหน้าที่ ต่อภารงาน ตั้งใจทำให้สำเร็จ ไม่เลิกไม่ทิ้งงาน เมื่อจะพูดก็ชคำพูด ยิ้มมั่นสำลัสย์ มีความจริงใจ มีความปรารถนาดีต่อทุกคนได้เกี่ยวข้อง ไม่เบียดเบียนทำร้ายใคร มั่นคงตรงต่อการทำความดีชีวิต
การฝึกตนจะอะไรด้วยสัจจะนั้นไม่ง่าย ต้องอาศัยการฝึกฝนอบรมตนเองอย่างเข้มงวด การฝึกเช่นนี้ จะทำให้เราต้องเคี่ยวเข็ญตัวเองแต่ตั้งแต่ตื่นขึ้นจักรั้งเข้านอน และผลจากการฝึกกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้จะกลายมาเป็นนิสัยมีสัจจะต่อด้วนให้แก่ตัวทั้งสิ้น
การมีความวิริยะมุ่งมั่นมันทำให้จริง การฝึกตัวอย่างนี้จะเกิดธรรมมักคุณสมบัติประกอบที่ ๒ คือ “ทะนง” ขึ้นมาโดยปริยาย ทะมง 3 ลักษณะ คือ ฝึก หยุด นั่ง สิ่งใดที่ดี ฝึกทำให้เกิด ให้เป็นนิสัย สิ่งใดที่ไม่ดี ต้องหยุดไม่ทำอีก หากทำอะไรได้ดีขึ้นมาบ้างแล้ว ต้องปรามตัวเองไม่ให้เหลิงหรือยามใจ รูปะมานฐานะและกำลังของตัว ลักษณะนี้คือ นั่งธรรมหรือคุณสมบัติประกอบที่ 3 “ขึ้น” เกิดตามมาเอง เมื่อตั้งใจจะให้ตัวเองให้สัจจะ จะถูกบังคับให้ฝึกโดยปริยาย ความขยันจะเกิดขึ้นจากการเอาชนะความเกียจคร้าน สิ่งเหล่านี้บังคับให้ต้องทนไปได้จน มันเกิดความทนขึ้นมาเอง เมื่อจริงจังดั่งงาน ต่อทุกสิ่งทุกอย่าง ในที่สุดความอดทนเหล่านี้จะเกิดขึ้นเอง และเมื่อจริงใจคนทุกคน จะทำให้คนต่อการะทบะทั้ง อดทนต่อความโกรธ คควาน้อยใจ ความเจ็บใจ มันเกิดขึ้นเอง แล้วในที่สุดถ้าเราจริงแสนจริงที่จะไปถึงที่สุดแห่งธรรม เราจะทนต่ออานาจิกาสได้โดยอัตโนมัติ
จากนั้น ธรรม หรือคุณสมบัติประกอบที่ ๔ “จาคะ” จะเกิดขึ้นมาในใจผู้ฝึกได้เอง เพราะกว่าจะฝึกจนมาได้ขนาดนี้ ความตระเหน็ดเหนื่อยจากใจ ไม่มีสงให้ต้องกลัวกลิ้ง ส่วนเกินมีแจกแบ่งเป็น เปลี่ยนเป็นบุญติดตัว ยิ่งให้ออกไปเป็นหลักประกันว่าต่อไปไม่มีอดไม่มีมาน แม้อารมณ์บูดบึ้งต่าง ๆ ก็จะละขาดจากใจได้อย่างง่ายดาย เหลือเพียงความปรารถนาดีต่อกัน
เส้นทางฝึก “มรรคาสงฆ ๕” นี้ จะเกิดนิสัยหรือโปรแกรมความประพฤติที่ดีงาม ใครมีสัปปายะนี้ ไปประกอบกิจการงานได้ก็จะทำอย่างดีมีคุณภาพ ส่งผลให้ชีวิตได้รับความสุขความเจริญ ทั้งชีวิตส่วนตัว ชีวิตครอบครัว สังคม เศรษฐกิจ ตลอดจนเป็นหลักประกันจึงสู่ดิสรภัศรในยามที่จะโลกไปแล้ว ดังนั้น หากต้องการชีวิตที่ดีขึ้นก็ต้องแสวงหาความรู้ที่แท้จริงว่า อะไรเป็นหลักประกันให้แก่ชีวิตได้จริง และลงมือฝึกตนเองให้เป็นผู้ “สัจจะ” ให้ได้ จึงจะสมกับเป็นผู้ประกอบเหตุหรือการกระทำเพื่อประโยชน์ของชีวิตอย่างแท้จริง เพราะตัวเองเท่านั้นที่จะเป็นผู้กระทำ เพื่อให้ผลที่ดีบังเกิดแน่น