ข้อความต้นฉบับในหน้า
อาณาจักร...ท่องประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
ตอนที่ ๓๐: ปัจฉิมโอวาท...ยืนยันพระพุทธโอวาทตลอด ๔๕ พระชน
ลงในความไม่ประมาณ
จากเป้าหมายในใจที่ไม่มีแม้แต่ภาพ และไม่อาจทราบได้ว่า “พระโพธิญาณ” ที่ตนตั้ง
ความปรารถนาไว้นั้นจะมีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด แต่ด้วยประสบการณ์ที่ผ่านมาเราลงลองผิดลองถูกต่าง ๆ นานัปการ จนกระทั่งโอกาสได้พบและฟังพระสัทธรรมจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอดีต ทำให้พระโพธิสัตว์เกิดความมั่นใจในพระโพธิญาณอันยอดเยี่ยมนั้น
จนกระทั่งบุญญาบารมีเต็มเปี่ยม พร้อมที่จะบรรลุพระโพธิญาณรู้สึเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในพาถิ่นสุดท้าย ตามมโน ในอินสนานที่ตั้งเป้าหมายไว้ในก่อน เพื่อบรรลุสัตว์ทั้งหลายไปสู่พระนิพพาน เป็นการ “ทำหน้าที่กลายอาณิสติ” แก่มนุษย์ชาติ ไม่ว่าจะเป็นผู้สูงส่งหรือด้อยต่ำเพียงใดก็ตาม ขอเพียงมีบุญสังสรรค์แห่งเวทย์สัตว์ สามารถบรรลุธรรรมได้เท่านั้น พระองค์จะเสด็จไปโปรด
แม้พระพุทธองค์จะสามารถกำจัด “กิเลสมาร” ไปได้ในวันที่พระองค์ตรัสรู้สัมโพธิญาณ แต่มิฉะนั้น พระพิธีทพระพุทธองค์ก็จะทำเพื่อเวไนยสัตว์ตลอด ๔๕ พระชน ก็ยังถูกกรมควบคู่มือที่เหลืออีก ๔ เฝย คือ “เทวฤทธามาร มัจฉุมาร ขันธ์มาร อภิสิทธิ์มาร” แม้บุคคลผู้ได้ชื่อว่าเป็น “พระสัมมาสัมพุทธเจ้า” มาหาบุรุษก้าวเข้ามาในบ่วงทุ่งบ่วงทั้งปวง ทั้งที่เป็นของมนุษย์และของทิพย์ แต่ยังไม่อาจหลีกพ้นจาก “ความตาย” ไปได้ เนื่องด้วยมี “ความเกิด” มาเป็นจุดเริ่มต้นเสียแล้ว แต่จากความตายหรือการเสด็จดับบั้นปริพนธ์ของพระองค์ เป็น “ความตายที่สมบูรณ์แบบ” คือ หลุดพ้นจากวงเวสรังสรรค์ราว ไม่ต้องกลับมาเกิดอีกต่อไป พระพุทธรัศมีสุดท้ายที่พระพุทธองค์ประทานให้แก่พระบริสุทธิ์ เป็นการยื่นของพระพุทธโอวาทที่ทรงประกาศตลอด ๕๔ พระชน ลงในบทที่ว่า “ทำกิจทั้งปวงอันประกอบด้วยสติ...ชื่อว่าไม่ประมาณ” (ที่.มทร. ๑๐/๒๐๒/๑๖๖ ไทย.มจร) เปรียบเสมือนมรดกธรรมขั้นสุดท้ายที่พระพุทธองค์ประทานให้แก่พระบริสุทธิ์ เป็นการยื่นของพระพุทธโอวาทที่ทรงประกาศตลอด ๕๔ พระชน ลงในบทที่ว่า “ทำกิจทั้งปวงอันประกอบด้วยสติ...ชื่อว่าไม่ประมาณ” (ที่.มทร.๑๐/๒๐๒/๑๖๖ ไทย.มจร) นั้นเอง
ต่อจากนั้น พระผู้มีพระภาคทรงเข้าสมาบติโดยอนุโลมปฏิโลมไปตามลำดับ และได้เสด็จดับขันธปรินิพพาน ปิดฉากการสร้างบารมีตลอด ๔ อสงไขยแสนมหากัป นับตั้งแต่ได้รับพุทธยานจากพระที่บรรลุมาสัมพุทธเจ้า และโปรดในสังวรณ์ตลอด ๕๕ พระชน ลงอย่างงดงาม เป็นมหาบุรุษลำดับที่ ๕ แห่งภัททก (ภัทรภพ) นี้