ความสำคัญของใจในพระพุทธศาสนา  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2564 หน้า 17
หน้าที่ 17 / 62

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงความสำคัญของใจในชีวิตมนุษย์ โดยแบ่งสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวกับร่างกายออกเป็น 4 ฐาน ได้แก่ ฐานดิน, ฐานน้ำ, ฐานลม และฐานไฟ ซึ่งถือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่ทำให้ร่างกายมีชีวิต ต่อมาเน้นถึงบทบาทของใจที่มีอำนาจในการรู้และตระหนัก พระพุทธเจ้าทรงสอนว่าใจคือสิ่งสำคัญที่ต้องรู้และเข้าใจ จากนั้นยังเน้นถึงพระวิญญาณาธาตุซึ่งเป็นชื่อเรียกของใจในภาษาบาลี

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของใจ
-ร่างกายและส่วนประกอบ
-พระพุทธศาสนา
-ฐานทั้ง 4 ของร่างกาย
-วิญญาณาธาตุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลวงพ่อตอบปัญหา ถาม : อะไรคือความสำคัญของใจที่ต้องรู้ ? ตอบ : คนเราประกอบด้วย ๒ ส่วน ส่วนแรก คือส่วนที่เราเรียกว่า ร่างกาย หรือ กาย ในภาษา บาลี อีกส่วนหนึ่ง คือส่วนที่เราเรียกกันว่า ใจ กายที่เราจับต้องได้ก็ คือ พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงแบ่งอย่างง่าย ๆ เพื่อสาธารณให้ดูรู้เรื่องว่า กายนันประกอบด้วย ฐูยาบ ๔ ชนิดด้วยกัน คือ ๑. ฐานดิน คือ ส่วนที่เป็นของแข็ง ที่มาเป็นเนื้อ เป็นหนัง เป็นกระดูกของเรา ๒. ฐานน้ำ คือ ส่วนที่เป็นของเหลว อยู่ในร่างกายของเรา ไม่ว่าจะเป็นเลือด น้ำเหลือง น้ำลาย หรือก็ถือว่าเป็นส่วนที่เป็นฐานน้ำ ๓. ฐานลม คือ ส่วนที่เป็นลมพัดเคลื่อนไหวอยู่ในตัว เช่น เป็นออกซิเจน ครับอนุ่งออกมาออกไซด์ หรือจะเป็นอะไรตามที่พอดูอยู่ในหัวใจบ้าง พอดูในหัวใจบ้าง พอดูในผิวกายที่ทำให้เราขนลุกขนพองกันบ้าง ก็เป็นส่วนของฐานลมที่อยู่ในตัว ๔. ฐานไฟ คือ ส่วนที่คืบปัจจุบันเขามองว่าเป็นพลังงาน แต่โบราณใช้คำว่าดาไฟ เป็นความร้อนอุ่น เป็นพลังงานที่อยู่ในตัวของเรา ร่างกายมนุษย์ต้องประกอบด้วย ๔ ฐานนี้ล่ะส่วนที่เหมาะสม ถ้าไม่ได้สัดส่วนกันเมื่อไรจะเกิดโรคภัยไข้เจ็บขึ้นในร่างกาย สมัยโบราณเวลารักษาคนเจ็บไข้ได้ป่วย เขาก็อาศัยรักษาโดยการสังเกตดู ทั้งสิ่งนี้ว่านำกี่บริบูรณ์ กี่ไหนหย่อน ถฤใไหนก็ไป แล้วรักษาตามอาการนั้นเป็นการรักษาโดยการปรับฐานของคนโบราณ ซึ่งช่วยให้มนุษย์มีชีวิตที่เป็นสุขมากน้อยบรรลุไม่สูญพันธุ์ไปก่อน เมื่อรู้จักกายพอสมควรแล้ว ก็รู้จักใจได้กัน พระพุทธองค์ทรงส่าใจเป็นรายละเอียด ตาเปล่ามองไม่เห็น ถฤดูนี้มีความสามารถพิเศษ คือมีอำนาจในการรู้ ชื่อเต็มของใจในภาษาบาลีที่พระพุทธองค์ทรงเรียกว่า วิญญาณาธาตุ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More