การรักษาความสงบในใจและโครงสร้างใจ  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2564 หน้า 19
หน้าที่ 19 / 62

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอความสำคัญของการรักษาความสงบของใจและการฝึกฝนจิตใจโดยอิงจากคำสอนของพระมงคลเทพมุนี โดยจะอธิบายถึงโครงสร้างของใจที่ประกอบไปด้วยชั้นต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ในการรับรู้และประมวลผลข้อมูลจากประสาทสัมผัส เมื่อเราสามารถรักษาความสงบและฝึกฝนจิตใจได้อย่างต่อเนื่อง จะสร้างคุณประโยชน์มหาศาลให้กับชีวิต และเป็นแนวทางที่ส่งเสริมการพัฒนาจิตใจเพื่อให้เข้าถึงความจริง

หัวข้อประเด็น

-การรักษาความสงบของใจ
-โครงสร้างของใจ
-การฝึกจิตใจ
-คุณค่าของการพัฒนาจิตใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ทรกุฐ (ทรกุฐิน) รักษาให้มันคงได้ยาก ทุนวินวรรย์ (ทุนว่าวังง) ห้ามได้แสนยาก ใจมัคคิดมักเที่ย ห้ามคิดห้ามเที่ยได้ยาก ปฏสรุ (ปะสัสรัง) มีความสงบในตัวเอง ใจอยู่เนี่ย ๆ จะสง่า ใจทุ่นวาย ฟุ้งซ่าน จะมี ทนุต (ทันทั่ง) ฝึกให้ดีงามขึ้นได้ ฝึกได้ไม่มีสิ้นสุด ลักษณะของใจ ๒ ประการหลังนี้มีคุณค่ามหาศาลและให้คุณประโยชน์กับมนุษย์อย่างยิ่ง ถ้าเราสามารถรักษาความสงบของใจไว้ได้อย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุผลเดียวกันนี้ พระบรมโพธิสัตว์เจ้า ชายเชิญคิดจะจงจิตใจตนเองได้จากทั้งหมดเสมอมาเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้วนำความจริงเหล่านี้มาบอกพวกเรา ต่อไปมาดูโครงสร้างและกลไกการทำงานของใจว่าเป็นอย่างไร ซึ่งเรื่องนี้หลวงปู่ดาป่านำหรือพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทโล) ท่านได้นำโครงสร้างของใจออกมาให้เราเข้าใจได้ง่าย ๆ ว่าไมมีลักษณะเป็นทรงกลม มีเนื้อเป็นชั้น ๆ ถึง ๓ ชั้นด้วยกัน คือ เนื้อด้านนอก ท่านนํ้าที่รับ เนื้อในชั้นที่ ๒ ท่านที่จำ เนื้อในชั้นที่ ๓ ท่านที่ คิด เนื้อในชั้นที่ ๔ ท่านที่ รู้ รับแล้วก็นําจำแล้วคิด คิดแล้วรู้ เมื่อมามากระทบตา ประสาทตาส่งมาให้ใจนอก รับเอาไว้ เรียกว่า เห็น เมื่อมีเสียงมาคารทะนุ ประสาทหูส่งมาให้ใจนอก รับเอาไว้เรียกว่า ได้ยิน กลิ่นกระทบจมูก ประสาทจมูกส่งให้ใจ รับเอาไว้เรียกว่า ได้กลิ่น วัตถุมร llor รี้ย หวาน มัน เค็ม อะไรก็ดามที มาการะทบประสาทส่งให้ใจ รับเอาไว้เรียกว่ ลิ้มรส มืดดู มาการะทบผิวภายส่วนไหนก็ ตาม ประสาททางกายส่งให้ใจ รับเอาไว้เรียกว่าสัมผัส เนื้อในด้านนอกทําหน้าที่รับ หมายถึงรับรู้ รู้สึก เรียกว่า เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ลิ้มรส สัมผัส คือนํารู้รู้รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส ทีมการกระทบกับส่วนของกายตามลําดับ เมื่อเกิดการรับที่เนื้อในชั้นที่ ๑ แล้วเนื้อในชั้นที่ ๑ ส่งให้อวัยวะในเนื้อในชั้นที่ ๑ ส่งให้อวัยวะในใจนี้ ๒ ท่านนี้ จำได้บันทึกไว้เป็นข้อมูลเขียนเดียกับคอมพิวเตอร์นี้บันทึกภาพและเสียงเอาไว้ แต่ใจสามารถบันทึกไว้ได้ละเอียดมากกว่า คืบันทึกทั้ง รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ไว้ทั้งหมด จากเนื้อในชั้นที่ ๒ ก็ส่งข้อมูลให้เนื้อในชั้นที่ ๓ เอามาคิด ข้อมูลที่อยู๋ส่งเข้ามา ใจนํามาคิดแล้วก็คิดอีกในที่สุดกระบวนการก็ปฏิบัติสนใจด้วยการส่งให้เนื้อในชั้นที่ ๕ ตัดสินต่อเรื่องนั้น สิ่งนั้น ว่าเชื่อหรือรู้ว่าเป็นอย่างไร คุณภาพของการรับมีผลต่อไปอย่างมาก ถ้ารับผิดจําจิด จําผิดคิดผิด คิดผิดก็จะทำให้รู้ผิด ในทางตรงข้าม ถ้ารับถูกจำถูก ถูกคิดถูก คิดถูกก็ถูก แค่ตามเรานำใส่แว่นสีดำ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More