ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมาภร วรรณวัฒนวารวิทยาการพระพุทธศาสนา
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 11) ปี 2563
การตั้งครรภ์ของสัตว์ได้เองหรือการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศในสัตว์ จากการค้นพบในปัจจุบัน
ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุของการตั้งครรภ์ในสัตว์ที่ปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนานั้น ผู้วิจัยสามารถนำมาวินิจฉัยให้เห็นภาพชัดเจนขึ้นบางประเด็นที่สัตว์เพศเมียสามารถตั้งครรภ์ได้โดยปราศจากเพศผู้ ซึ่งสรุปได้ดังนี้ ในคู่ปัจจุบัน การสืบพันธุ์โดยปราศจากอสุจิ (Sperm) เรียกว่าการสืบพันธุ์แบบไร้การปฏิสนธิ หรือการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Virgin birth, Parthenogenesis) ตัวอย่างเช่น
ในปี พ.ศ. 2547 (2004) นักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่นชื่อว่า โทโมอิ โคโนะ (Tomohiro Kono) และคณะ ได้สร้างหนูตัวหนึ่ง โดยไม่ใช้เชื้อ ตัวผู้หรืออสุจิสเปิร์ม (Sperm) ในการผสมพันธุ์ต่ออย่างใด แต่เกิดจากการผสมกันของไขจากหนูตัวเมีย 2 ตัวเท่านั้น และหนูก็เกิดด้วย ครรภ์บริสุทธิ์ซึ่งสามารถตั้งครรภ์และให้กำเนิดลูกหนูนั่นต่อไปได้ปกติ งานวิจัยชิ้นนี้ได้กลาฃฐานของธรรมชาติติงอย่างสั้นเชิง เหตุการณ์นี้จึงมีความแปลกและแตกต่างกับการเกิดโดยธรรมชาติเพชๆ กับการโคลนแกะดอลส์ของนักวิจัยอังกฤษเมื่อหลายปีก่อน อย่างไรก็ดีตาม อัตรา การประสบความสำเร็จของการผลิตตัวอ่อนจากการครรภ์ หรือการสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ (Parthenogenesis) ยังถือว่ามีมาก เพราะหนูและน้องสาวของมันเป็นเพียง 2 ชีวิตที่อีตายมาจากไข่ 457 ฟอง สำหรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแล้ว ถือได้ว่านี่เป็นครั้งแรกที่หนูสามารถให้กำเนิดแบบพรหมจรรย์หรือครรภ์สุทธิโดยไม่อาศัยเพศ (Parthenogenesis) นอกจากการวิจัยนี้ นักวิทยาศาสตร์พบว่า สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอาจเกิดครรภ์สุทธิ์