การดำเนินครรภ์บิดษในพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์ การตั้งครรภ์บริสุทธิ์ (ตั้งครรภ์แบบบไม่อาศัยเพศ) ในพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์ หน้า 25
หน้าที่ 25 / 30

สรุปเนื้อหา

การวิจัยเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แบบไม่อ่อนคายพิเศษในมนุษย์ แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ที่ไข่สามารถพัฒนาเป็นตัวอ่อนได้เองโดยไม่ต้องใช้การปฏิสนธิจากอสุจิ โดยมีการค้นพบเด็กที่เกิดจากการแบ่งเซลล์ไข่ในร่างกายที่มีกลุ่มเซลล์พันธุกรรมที่แตกต่างกัน วิเคราะห์ถึงโอกาสในธรรมชาติและการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ที่อาจทำให้เข้าใจการตั้งครรภ์ในรูปแบบใหม่

หัวข้อประเด็น

-การตั้งครรภ์แบบไม่อ่อนคายพิเศษ
-การพัฒนาไข่
-การแบ่งเซลล์
-การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์
-พันธุกรรมในมนุษย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การดำเนินครรภ์บิดษ (ตั้งครรภ์แบบไม่อ่อนคายพิเศษ) ในพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์ 53 ไม่สามารถเห็นได้ทางธรรมชาติเพราะห้องทดลองก็พบว่ามีความ เป็นไปได้จากการทดลองสร้างตัวอ่อนหนูโดยไม่ใช้อสุจิสำเร็จ และ จากการค้นพบว่าเซลล์ไข่ (Oocyte) ของมนุษย์ในบางครั้งสามารถ เกิดการแบ่งเซลล์พัฒนาไปเป็นตัวอ่อนมนุษย์ได้เองโดยไม่ต้องปฏิสนธิ กับอสุจิ และไม่ได้การกระตุ้นใดๆ จากการค้นพบในห้องทดลอง และ จากกรณีเด็กชายผู้ซึ่งเกิดมาจากการแบ่งเซลล์ของเซลล์ไข่ได้เองก่อนที่จะ ผสมกับอสุจิอีกที (Human Parthenogenetic Chimaera) ทำให้ใน ร่างกายมีกลุ่มเซลล์ที่มีพันธุกรรมต่างกันในคนคนเดียวกัน (Partial Par- thenogenesis) คือ เซลล์เม็ดเลือดไม่มีพันธุกรรมจากบิดา แต่หากเซลล์ อื่นในร่างกายมีโครโมโซมปกติจากเซลล์เม็ดเลือด24 ซึ่งประเด็นนี้ ทำให้เห็นว่า มีโอกาสความเป็นไปได้ในทิศทางที่มนุษย์จะตั้งครรภ์ได้ โดยไม่อาศัยอสุจิ แต่เนื่องจากกรณีแบบนี้คืบคลานเองได้ยาก มีโอกาส น้อยมากในธรรมชาติเหลือเกินยังไม่สามารถยืนยันได้ด้วยมนุษย์ ในยุคปัจจุบัน นอกจากนี้ ผู้วิจัยจึงไม่น่าเหตุของตั้งครรภ์แบบอื่นๆ ของมนุษย์ คือ การตั้งครรภ์เหตุจากการเคล้าคล้ง การลูบคลำล่อ คือ การเห็นรูป มาเปรียบเทียบอธิบาย เนื่องจากวิทยาศาสตร์ไม่ได้ศึกษาถึงการตั้งครรภ์ในรูปแบบวิธีการที่แตกต่างในมนุษย์เช่นนี้ เพราะ ไม่สามารถพบเห็นได้หรือไม่มีข้อมูลในมนุษย์ปัจจุบัน เพียงแต่ แสดงให้เห็นถึงการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถนำมาอธิบายหรือ ขยายความเกี่ยวกับกลไกการตั้งครรภ์ที่แตกต่างในมนุษย์เช่นนี้ เพราะ ไม่สามารถพบเห็นได้หรือไม่มีข้อมูลในมนุษย์ปัจจุบัน เพียงแต่ แสดงให้เห็นถึงการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถนำมาอธิบายหรือ ขยายความเกี่ยวกับกลไกการตั้งครรภ์ที่แตกต่างในมนุษย์เช่นนี้ เพราะ จะสามารถมี โอกาสเกิดขึ้นตามธรรมชาติได้ด้วยเท่านั้น ผู้วิจัยเห็นด้วยกับาเบรียล 24 Lisa Strain, Warner JP., Johnston T. and Bontron DT., "A human parthenogenetic chimaera," Nature genetics, vol. 11, no. 2 (October 1995): 164-169.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More