ข้อความต้นฉบับในหน้า
ทนอะไรหนอ...ทนยากที่สุด
คำว่า "อดทน" เราได้ยินบ่อยๆ เสมอๆ เราไม่รู้ว่า คำว่านั้นมีคำจำกัดความ
หรือมีความหมายกว้างแค่ไหน ในที่นี้จะแยกลักษณะของสิ่งที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเรียกว่า
อดทน หรือขันธ์นั้น มีอยู่ 4 ลักษณะด้วยกันคือ
1. ทนต่อความลำบากตรากตรำ เกิดเป็นคนต้องยอมทนความลำบากตรากตรำ
เดี๋ยวเจออุปสรรค หรือปัญหาเกิดมาด้วยแยะๆ คำว่าทนต่อความลำบากตรากตรำหมายถึงอะไร
หมายถึง ทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศ สภาพธรรมชาติเป็นต้น ก็เป็นเรื่องที่จะต้องทน
สำหรับกรณีแล้ว ใครที่ร่ำรวยแข็งแรงก็อาจจะได้เปรียบสักหน่อย
2. ทนต่อทุกขขณะ แตกต่างกัน บางคนมีความทนทานต่อความลำบากตรากตรำดี
แต่ไม่ทนต่อทุกขขณะ เจ็บป่วยได้ปลิดหน่อยท้อยกันจะตาย โอ้ยย แค่อยากดันท้องกันมาก
ยุงกัดขนสะดอม คนพลัดหลง พลิกแล้วยกพลิกอีก หดหูสิ่ง แค่อยากก็เท่านั้น
ไม่ชำนับน็อตตัวเดิมเป็นกันบ่อย แต่เราไม่ได้จะเอาคนให้ตอบสนอง
เวลาสะดวกมันตื่นแล้วงกดนิ่งกระสับกระสายที่เดียวแหละ
3. อดทนต่ออาการกระบกกระบ่อน คนเราที่อยู่ร่วมกันมากๆ
ย่อมมีการกระบกกระบ่นกันเป็นธรรมดา เนื่องจากแต่ละคนต่างมีความคิดเป็นแตกต่างกัน
พฤติกรรมก็แตกต่างออกมาอาจจะยอมรับซึ่งกันและกันไม่ได้
ความขัดแย้งและการกระบกกระบ่อนจึงเกิดขึ้น ถ้าเราทนไม่ได้
ก็อาจจะไปพลาดท่าด่อการบรรทบด้วยเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ประเภทหมัดเย็น
แต่ถ้าเราทนต่อการกระบกกระบ่อน ก็จะสามารถทนต่อเรื่องหนักหนาสาหัสประเภทหนักได้
4. อดทนต่อความย่อยย่ำ นี้แหละยากที่สุด
เพราะเราต้องทนต่อเลสในตัวและสิ่งอึ๋งอ้างภายนอก โดนซิ ๆ จำ ๆ ม่ทีหรอก
ขนาดเป็นเจ้าคุณยังสิ้นเสียเลย
เมื่อหลวงพ่อพรามาละพระอุทัยจะมาสร้างวัด พระอุทัยมาบอกว่า เผ็ดจิ
ฉันขอฝากไว้ 2 ส. ส. หนึ่งคือ สติ อีก สอง คือ สตางค์ ท่านบอกให้ระวังให้ดี
ทั้งพรรท่านเผลอจากจริงชั่วได้ด้วยสติกับสตางค์นี่แหละ
สำหรับใครคนธรรมดา ส ก็ได้แก่ สติหรือสุขภาพจิต กับ สตางค์
ท่านหญิงท่านชายก็ระวังแล้วกัน จะพลาดโดนจะ ๆ จำ ๆ รับผมๆ
จะให้ใจชื่นผลไปผิดศิลากาม เขา ตามราเสียเถอะ
พันจากนรกยังต้องมารับกรรมเป็นมะเร็งเข้าอีก มันไม่คุ้มนะ
กับการตามใจตัวตามใจได้เองแบบนี้