ความตายและการพัฒนาจิต Dhamma TIME เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 หน้า 32
หน้าที่ 32 / 44

สรุปเนื้อหา

บทเทศนานี้เน้นให้พิจารณาความไม่ประมาทในชีวิต และการใช้เวลาอย่างมีคุณค่าแทนความบันเทิงที่ไร้สาระ. พระเทพญาณมหามุนีได้สอนให้เราใช้ความตายเป็นแรงบันดาลใจในการทำความดี, ปฏิบัติธรรมให้เข้มข้น เพื่อเจริญเติบโตในทางจิตใจและสร้างบารมีในชีวิต โดยมีเวลาจำกัดในการปรับปรุงจิตใจให้หยุดนิ่งและพ้นจากกิเลส.

หัวข้อประเด็น

-ความตาย
-ความไม่ประมาท
-การฝึกจิต
-พระธรรมเทศนา
-การสร้างบารมี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พูดถึงความตายแล้ว หลายท่านอาจจะรู้สึกว่าไม่อยากจะได้ยินคำนี้ ฟังแล้วไม่เป็นมงคล อยากจะได้ยินคำอื่นมากกว่า แต่จริงๆ แล้ว คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประชุมรวมกัน ตรงที่สอนให้ตั้งอยู่ในความไม่ประมาท คนไหนประมาทก็เหมือนคนที่ตายแล้ว คือความจากคุณงามความดี ชีวิตหลังความตาย น่าจะเพิ่งกลัวมาก เพราะฉะนั้น ความตายจึงเป็นสิ่งที่ต้องพูดถึงบ่อยๆ เพื่อจะได้เจริญสมาธิสติ ไม่มีประมาณในชีวิต และขยันทำความเพียรให้ยิ่งๆ ขึ้นไป ชีวิตจะได้ปลอดภัยและมั่นคงในโลกนี้และในโลกชีวิตของเรามีเวลาเหลืออยู่น้อยเต็มทีแล้ว โดยเฉพาะน้อยต่อการฝนอบรมใจให้หยุดนิ่ง ให้หลุดพ้นจากกิเลสอาสะวะที่เน้นอยู่ในใจเรา คนส่วนใหญ่มักใช้เวลาทำงาน เอาเวลากำทำมากิน บไปใช้กินการดื่มบ้าง เที่ยวเล่นสนุกสนานพลิดเพลินบ้าง หมดเวลาไปวันๆ ที่จะเจือเวลามาประพฤติปฏิบัติธรรมอย่าง เอาจริง เอาจังน้อยเหลือเกิน บางทีก็เมามัวเข้าใจแล้ว แต่เพราะความประมาทและเกียจคร้าน ทำให้ยังไม่สมปรารถนาในการเข้าถึงธรรมกัน เพราะฉะนั้น หลวงพ่อจึงอยากเตือนทุกท่านให้พิจารณาถึงความเป็นจริงของชีวิต อย่าได้ประมาท ควรยอมใช้เห็นถึงบุญกุศล ที่กาลของเข้า เมื่อความตายมาถึง ภาพของเราต้องแตกดับ แต่คุณธรรมความดีในตัวนั้นไม่ดับ สุข มีแต่จะเจริญงอกงาม เป็นบุญบารมี เป็นความบริสุทธิ์ยิ่งขึ้นไป เราเป็นนักสร้างบารมี ต้องไม่ปล่อยเวลในชีวิตให้ผ่านไปเปล่า เวลาของเรามีมาก สิ่งที่ต้องทำกลับม มือถือมาก เราจึงไม่ควรประมาณในวัยของชีวิต ต้องหันสร้างความดี สร้างบารมีให้เต็มที่ ให้จัดอุปสรรคอันมิขออ้างหรือเงื่อนไขใดๆ ในการทำใจหยุดใจนิ่งให้หมดสิ้นไปจากใจ จะได้ดำเนินชีวิตอย่างถูกต้องปลอดภัยและสมปรารถนา เราจะได้พึ่งพี่พึ่งภูมิใจในตัวเองจากพระรัตนตรัยกันทุกคน พระธรรมเทศนาโดย พระเทพญาณมหามุนี นามเดิม พระราชภาววุฒิสิทธิ์ (ไชยบูลย์ ชาญชัย) *มง. เล่ม ๖ หน้า ๑๕*
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More