ความสำคัญของการหยุดใจในปฏิปทา Dhamma TIME เดือนกันยายน พ.ศ.2557 หน้า 31
หน้าที่ 31 / 45

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้ได้กล่าวถึงความสำคัญของการหยุดนิ่งใจในศาสนาพุทธ การประสบกับพยามาร และความสามารถของการตั้งจิตเพื่อเข้าถึงธรรมะ เมื่อเราฝึกฝนใจให้หยุดนิ่ง เราจะสามารถเห็นภายในตนเองและพบกับพระธรรมกาย ซึ่งเป็นที่พึ่งพิงอย่างแท้จริง การเข้าถึงพระธรรมกายจะทำให้เราบรรลุนิพพานและหลุดพ้นจากสิ่งชั่วร้าย โดยผ่านการตั้งจิตอธิษฐานและฝึกฝนอย่างต่อเนื่องในทุกวัน เพื่อไม่ให้ประมาทในการเดินตามทางรอยบาทของพระพุทธองค์

หัวข้อประเด็น

-การฝึกจิต
-ความหยุดนิ่ง
-พระธรรมกาย
-การหลุดพ้นจากมาร
-ปฏิปทาสายกลาง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สำเร็จในระหว่างกลางตรงนั้นเอง เวลา ทุกหมาใจเข้าออก อย่าหายใจไปเปล่าๆ นี่เป็นบุคคลิษฐานว่า จะประสบสิ่งที่ชั่ว-ร้ายทั้งหลาย มีแต่เดี๋ยวเท่านั้นคือกาง พระสัมมาสัมพูทธเจ้าท่านทรงสอนมนัสมีมาในปฏิปทา หนทางสายกลาง เป็นทางหลุดทางพันไปสู่อตนนั่นพาน ใครสำรวมระวังจิตใจไว้กลางตัว จะนำจากวงแหงมาระจะชนะพยามารได้ อาศัยหยุดนิ่งไม่ต้องใช่กล ศาสตราวุธ หยุดอยู่ที่ศูนย์กลางฐานที่ 7 นั่นแหละ พอหยุดถูกส่วนเข้าเท่านั้น ปฐมมรรคาจะเกิดเป็นดวงสว่าง แล้วจะเห็นภายในกายไปตามลำดับ จนกระทั่งเข้าถึงความเป็นพระอริยะเจ้า เข้า ถึงยอดนิพพาน ประหัตประหารกันอยู่ตรงกลางตรงนี้เอง เมื่อเราเข้าใจอย่างนี้แล้ว ต่อจากนี้ไปให้ตั้งโมนเปิ่นอธิษฐานไว้ว่า เราจะไม่ประมาท จะเดินตามยบบาทพระมรรคาส단 พระพุทธองค์อย่างไร ก็ทำอย่างนั้น ถึงจะได้ข่าวว่าเป็นสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านซึ่งแนะนำพร-สอนว่าให้หยุดอยู่รงนี้ จะได้พ้นจากวงแห่งมาร ณ ขีด สัญญ บุญสมถิ โมญญุติ มารุขณา ผู้สำรวมระวังจิตคือเอามาหยุดนิ่งตรงนี้ได้ ย่อมพันจากวงแหงมาร วันนี้ใจไม่หยุด พรุ่งนี้เอาใหม่ ฝึกกันไปทุกวัน ทำให้มำเสมอ ฝึกไปตลอด เวลาทุกหมาใจเข้าออก อย่าหายใจไปเปล่าๆ ฝึกให้หยุดให้แน่นิ่งในกาย แล้วก็เห็นกายในกายกันเข้าไปเรื่อยๆ เราจะได้เข้าไปพบกับผู้แจ้งภายใน คือพระธรรมกาย มุ พระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งสงเคราะห์ ซึ่งเปรียบเสมือนเกราะกันคุ้มกันภัยชั้นเยี่ยม และเป็นที่รวมความสมปรารถนา ทุกอย่าง พระรัตนตรัยท่านสงสติอยู่ภายในตัวของเรา คนนี้แหละ ดังนั้น ให้หมื่น นั่งรวมจะเป็นประจำทุกวัน ทำกันไปจนๆๆ จะเข้าใพระธรรมกายกันทุกคน พระธรรมเทศนาโดย พระเทพญาณมหามุนี นามเต็ม พระราชภาววีฒิ (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย) *มก เข้ม ๗๙ หน้า ๒๐๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More