นานิสงส์จากการทำบุญและการเสียสละ  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2561 หน้า 41
หน้าที่ 41 / 72

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาบทนี้พูดถึงนานิสงส์ที่มีผลต่อชีวิตของบุคคลที่สร้างบุญ เห็นได้จากพระมหากัสสะปะและเมณฑกเศรษฐีที่ประสบความสำเร็จจากการเสียสละเพื่อผู้อื่น การทำบุญที่มีการยอมแลกด้วยชีวิตสร้างพลังอันแข็งแกร่งในการเติบโตของจิตใจและความร่ำรวยที่มีค่าจากการรักษาด้วยศีลธรรม บุญที่ใช้ความปรารถนาดีและการช่วยเหลือผู้อื่นถือเป็นหัวใจของชีวิตที่นำไปสู่การพ้นทุกข์และความเจริญในทั้งโลกหน้าและโลกนี้จึงมารวมถึงการทำบุญในขณะมีชีวิตอย่างตั้งใจและมุ่งมั่นในการสั่งสอนใจ

หัวข้อประเด็น

-นานิสงส์จากการทำบุญ
-ตัวอย่างจากพระมหากัสสะปะ
-เมณฑกเศรษฐี
-การเสียสละชีวิตในการทำบุญ
-ผลของการทำบุญที่แท้จริง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

มีนานิสงส์แรงมาก เพราะต้องอาศัยหัวใจที่ยิ่งใหญ่เกินมนุษย์ธรรมดา และท้ายที่สุด บุญเอง.. ก็ทำให้นทบพลันร่ำรวยเป็นเศรษฐีขึ้นในภายวันนั้น และเป็นบุญหนึ่งที่ทำให้พระมหากัสสะปะ มีรมเต็มเปี่ยมจนสามารถตามลบดิลบบรลุ่มรด ผล นิพพาน เป็นพระอมตัตุตู เป็นผลในด้านการถอดดง์ศ์ (อ่านเพิ่มเติมที่ อรรถถกฺ ฎุททุกกิย คาถาธรรมบท ปาฏวรรคนที่ ๘ เรื่อง พราหมณ์นิ่งอภิลา) มาถึงคนดังอีกคน ซึ่งก็คือ ปูของนางวิสาขา หรือ ท่านเมณฑกเศรษฐี ซึ่งว่ากว่าท่านจะเกิดมาจวบจนวันนี้ ท่านได้สร้างเหตุโดยการทำบุญชนิดเอาชีวิตเข้าแลกมาก่อน หากย้อน ไปในชาติที่ท่านเกิดในยุคที่มีอุตภาวะ หรืออภัยจากความอดอยาก ซึ่งขณะที่จะท่าน กำลังจะอดตายเพราะความหิวโหย ก็ได้ ตัดสินใจเอาข้าวมือตสุดท้ายที่ทุงไว้กินกัน ทั้งครอบครัวมากว่ายให้กพระจั๊ก- พุทธเจ้าที่เพิ่งออกจากนิรวาสบัติ โดย คิดว่าตัวเองตายตาย แต่ว่าให้บุญนี้ ก่อนตาย เรียกได้ว่า..ทำบุญโดยยอมแลก ด้วยชีวิตเลยที่เดียว ซึ่งการทำบุญแบบ ยอมแลกด้วยชีวิตนี้เอง ได้ส่งผลให้ท่าน เศรษฐีได้สมบัติล่ำคลาวัลย์ และรอดชีวิต กลับมาว่ายกว่าเดิมอย่างเหลือเชื่อ (อ่านเพิ่มเติมใน อรรถกฺ ฎุททุกกิย คาถาธรรมบท มูลรรคที่ ๑๘ เรื่อง เมณฑกเศรษฐี) จะเห็นว่า คนดังแต่ละคนในสมัยพุทธกาลที่ยกตัวอย่างมาล้วนทำบุญนั่นย่อมมากกว่ามนติตัว เสียอีก เพราะบางคนถึงกับแลกด้วยชีวิต แต่พระสัมสัมพุทธเจ้าและพระปัจจกพุทธองค์ ก็ไม่ทรงห้ามแต่ปะการใจ แกนไม่ทรงสั่งด้วยว่า.. ให้ทำบุญน้อย ๆ แต่ตรงกับข้าบังคับทรงชนะ ทำบุญทั้ง ๆ ที่รู้ว่า..ผู้ตกชนนั้นไม่มีด้วยซ้ำ อึกทั้งยังทรงชื่นชมมนุษย์นและให้กำลังใจ โดยกล่าวถึงอานิสงส์และยกตัวอย่างเพื่อให้ปลิ้นมือด้วย ที่พระองค์ทรงทำอย่างนี้ เพราะทรงรู้ดีว่า บุญจากการทำทานสะสมสิ่ง แม้จะหมดตัวแบบจะแกสภุกพราหมณ์หรือท่านเมณฑกเศรษฐี สุดท้ายด้วยบุญนี้..ก็จะทำให้ได้สิ่งที่เหนือกว่าเดิมและดีที่สุด ซึ่งก็คือ การหมดเทวาสิ้นพพพนนันเอง มีนาคม ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ ๓๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More