ความสำคัญของจิตใจในการรับรู้และการตัดสินใจ  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2561 หน้า 64
หน้าที่ 64 / 72

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงกระบวนการที่จิตใจมีผลต่อการรับรู้ของเราว่าจะถูกต้องหรือผิดพลาด ด้วยการใช้ตัวอย่างเกี่ยวกับม้าที่ถูกหลอกให้กินหญ้า การใช้ภาพสีเพื่อแสดงถึงอิทธิพลของสิ่งต่าง ๆ ที่มีต่อการตัดสินใจของคน เราแบ่งปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้เป็นสามกลุ่ม ได้แก่ สุขภาพกาย, กิเลสที่อยู่ในใจ, และสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการมองเห็นและการได้ยิน สิ่งเหล่านี้คือปัจจัยที่ทำให้การรับรู้มีความแตกต่างกัน

หัวข้อประเด็น

-จิตใจและการรับรู้
-ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ
-สุขภาพกาย
-กิเลส
-สิ่งแวดล้อม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไตรตรอง คิดแล้วคิดอีก ในที่สุดก็ตัดสิน แล้วส่งให้เนื้อใจขึ้นที่ ๔ เมื่อรู้ว่าเป็นอย่างไร จุดเริ่มต้นการทำงานของใจ จงรับไว้เป็นจุดสำคัญ ถ้ารู้ถูก ก็จะถูก เมื่อถูกก็ถูก เมื่อคิดถูก ก็ถูกๆตรงกันข้ามถ้ามีผิด ก็ผิด แล้วจะคิดผิด จะรู้ผิด ในวงการปฐมสัตว์ เคยมีการหลอกม้า ให้กินหญ้าแห้ง แต่ม้าไม่ยอมกิน เมื่อลองเอาแว่นสีเขียวใส่ให้ มันก็ยอมกิน ใจของเราก็มีโอกาสถูกย้อมสีทำให้รับอะไรผิดได้เช่นกัน ท่านจงเดี่ยวกับคนใส่แน่สีดำ เห็นอะไรก็ด้ามหมด ใส่แน่สีชา เห็นอะไรก็สีชาดหมด ใส่แน่สีเขียว เห็นอะไรก็สีเขียวหมด ------------------------------------------------------ ในวงการปฐมสัตว์ เคยมีการหลอกม้า ให้กินหญ้าแห้ง แต่ม้าไม่ยอมกิน เมื่อลองเอาแว่นสีเขียวใส่ให้ มันก็ยอมกิน ใจของเราก็มีโอกาสถูกย้อมสีทำให้รับอะไรผิดได้เช่นกัน ------------------------------------------------------ ปัจจัยที่เป็นเหตุให้ใจรับเข้าไปถูกหรือผิด แบ่งได้ ๓ ประการ ได้แก่ ๑) สุขภาพกาย เมื่อเราถูกความเจ็บป่วยบังจิตใจ เพียงแค่ปวดศีรษะ เราก็ไม่มีแก้ใจจะรู้สึกว่าสายที่มาระทบหั่นนั้น เสียงไหนไพร่เรานำฟัง รู้สึกแต่ว่าปวดศีรษะ หรือคนเมาหล้า เวลาจะพูดอะไรหรือฟังอะไรไม่รู้เรื่อง ๒) กิเลส ได้แก่ โลก โกรธ หลง เมื่อกิเลสครอบคุมใจ คนมีความโลก เห็นแก่ได้ เห็นอะไรก็รู้สึกดำขัตๆ ไปหมด คนมีความหลงมัวเมา ทำอะไรไม่มีหลักเกณฑ์ขึ้นอยู่กับอารมณ์เป็นใหญ่ วันนี้พูดอย่าง วันพรุ่งนี้พูดอีกอย่าง ๓) สิ่งแวดล้อม เช่น ระยะการมองเห็นจะเห็นได้ชัดเจน ก็ต้องมีระยะห่างที่พอสมควร ระดับหนึ่ง ชิดนิยมตาไปก็ไม่เห็น ห่างมากไปก็ไม่เห็น เสียงก็เหมือนกัน ต้องมีระยะหว่างในระดับหนึ่งจึงจะได้ยินชัด หรือขนาดของวัตถุ ความใหญ่ความเล็ก ก็มีผลต่อการรู้เห็นกัน แม้คลื่นความถี่ก็มีระยะที่มีผลต่อการรับรู้เช่นกัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More