ข้อความต้นฉบับในหน้า
ดังนั้น การทำบุญมาก ๆ แบบทุ่มเทเอาชีวิตเป็นเดิมพัน สิ่งที่ละลายได้ก็คงนั่น ก็ไม่ใช่เรื่องที่ผิดแต่ประการใด เพราะยิ่งทำบุญมาก ยิ่งขัดเกลากิเลสได้มาก จนสุดท้ายก็สามารถละกิเลสได้จนหมดสิ้นแล้วเข้านิพพาน ดังที่พระพุทธองค์ทรงทำให้ดูนั่นเอง...
จำเป็นด้วยหรือที่คนอย่างเราจะต้องทำบุญหมดตัว ?
คำถามข้อนี้ถือเป็นคำถามที่สำคัญของบทความนี้เลยทีเดียว เพราะผู้เขียนก็กลัวเหมือนกันว่า บางคนพออ่านเรื่องราวที่ค้นมาจากพระไตรปิฎกนี้เอามาเล่าให้ฟังแล้ว จะทุ่มทำบุญหมดเนื้อหมดตัวฉันเดือดร้อน หรือบางคนอาจเกิดอาการวิตกไปเลยว่า แล้วที่ผ่าน ๆ มาทำบุญแบบทุ่มเทเลย แล้วจะมีสิทธิ์หมดกิเลสเข้า นิพพานได้อย่างสบาย
ตรงข้อนี้ตอบว่า... การทำบุญมากหรือจนนั่น ไม่มีอะไรผิดเลย ขึ้นอยู่กับการตั้งความปรารถนาว่าเราต้องการให้พวงต่อไปของเราเป็นอย่างไร อย่างพระสัมพุทธเจ้าทรงทำทานมากนานิ ก็เพราะพระองค์ต้องการบรรลุเพื่อที่จะเป็นพระสัมพุทธเจ้า หรือพระมหากัสสะปนั่นก็ต้องการบูชาเทพบุตรที่มีความพอที่จะเป็นอิสระมาเหล่าสาวา และแม้แต่ท่านเมนทะ-เศรษฐีที่นก็ต้องการวรณถึงระดับที่สามารถเลี้ยงคนได้จำนวนมหาศาล แล้วหมดกิเลสเข้า นิพพานได้อย่างสะดวกสบาย
การทำบุญจนหมดเนื้อหมดตัว ไม่มีอะไรนิน แล้วนั่งเครียด ใจหมองในภายหลัง อย่างนี้เป็นสิ่งถูกต้องหรือไม่ ?
อย่างนี้ถือว่าผิดหลักวิชาเป็นอย่างมาก เพราะจากตัวอย่างที่เล่ามาข้างต้น ทุกคนที่ทำบุญไม่ใช่ใครเครียดหรือใจหมองเลย แต่กลับปลื้มมาก ทั้ง ๆ ที่ชีวิตไม่เหลืออะไรแล้ว เนื่องจากใจของพระโพธิสัตว์หรือผู้มีบารมีเกล้านั้นไม่เหมือนใจของคนธรรมดา ดังนั้น หากใจของเรายังเป็นอย่างนั้นไม่ได้ ก็ให้ทำบุญอย่างเต็มกำลังเท่าที่เราจะสามารถทำได้ ซึ่งการทำบุญนั้น ไม่ว่าจะมากหรือน้อยก็ตามนั้น แต่ขอให้ปลื้ม นี่ก็ถึงบุญให้ได้ตลอด แล้วเราก็จะมีความสุขทั่วโลกนี้และโลกหน้า ดังพุทธพจน์ว่ากว่า...
ปุญญาเมว ปุริโล กิริยา กิริยาณ ปุญปุณฺโ ญ ทมุทธิ ฉนทํ กิริยาถ ํ สุตํ ปุญญสุต สุตฺโ ญ
ถ้าบูชพึงทำบุญให้รัว พึงทำบุญน้อย ๆ พึงทำความพอใจในบุญนั้น เพราะว่าความสำเร็จทำให้เกิดสุข