ข้อความต้นฉบับในหน้า
เสวนาหลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณครั้งที่ ๓ เมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ (เมื่อ ๒ ปีที่ผ่านมา) ในหัวข้อความว่า “องค์รองธรรมกายในสายทางภูมิศาสตร์ การเผยแพร่พระพุทธศาสนา” เพื่อให้เห็นความก้าวหน้าที่เพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้งของการสืบค้นหลักฐานธรรมกายในพื้นที่ต่าง ๆ หลายแห่งในโลกไม่ว่าจะเป็นในยุโรป เอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และในประเทศไทยของเราเอง โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชั้น (DIRI) ก็ได้ลงพื้นที่ศึกษาค้นไปแล้วมากกว่า ๒๓ ประเทศทั่วโลก และได้พบกับความสำเร็จในเชิงวิจาการมากมาย ซึ่งในจำนวนนี้ผลงานการสืบค้นหลักฐานธรรมกายที่พูดในประเทศไทยของเราเอง โดยเราได้พบหลักฐานที่เป็นศิลาจารึก จารึกลานเงิน อักษรตัวเขียนประกอบไทย ในลาน รวมทั้งหลักฐานธรรมกายที่ถูกจารด้วยอักษรเขมโบราณ อักษรขอมไทย อักษรธรรมอื่น ๆ ทั้งที่เป็นภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาไทย
โดยในการค้นพบนี้ เรายพบหลักฐานไว้อีกว่า “พระธรรมกายสามารถเห็นได้ด้วยธรรมกายในประเทศไทยแล้วทั้งสิ้น ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาอารางถึง ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้น คัมภีร์จารึกในลานหนังสือพับ รวมร่วม คัมภีร์ และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม ซึ่งไม่ว่าจะหลักฐานชิ้นใดที่ค้นพบนัน่มีเนื้อหาที่เป็นการสารเสริมคุณลักษณะของพระธรรมกาย การอธิบายถึงความเชื่อมโยงกันระหว่างพระสังฆภูติญาณ พระปัญญาภาณ์ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นต้น ดังนั้นใน คาถาอุปปาตินิ ที่ได้แยกปกายและธรรมกายของพระพุทธเจ้าออกจากกันอย่างชัดเจน และชนะเดียวนั้นก็ได้กล่าว ไว้ด้วยว่า “พระธรรมกายสามารถเห็นได้ด้วยปัญญา มิได้ด้วยสายตาสามัญทั่วไป” เป็นต้น หรือใน คัมภีร์จาตุรงค์วาดา ที่ได้พบคำว่า “ธรรมกาย” ในบทที่ ๑ ซึ่งเป็นข้อความสรุปในภาวะปฏิบัติพุทธลักษณ์ อันมีเนื้อความว่า ทิศสมอโลปกุษะ รูปภาพา จินติ โย อาสารณาเมตต มุมมากา กา ว กาติ ๆ ซึ่งหมายความว่า “แม้พระรูปกาย ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ปรากฏอยู่ ก็ยังเป็นเรื่องอันใด จะกล่าวไปยังพระธรรมกายของพระองค์ซึ่งตั้งขึ้นไปด้วยอานุภาพ คือ ความรู้ทั่วไป”