ข้อความต้นฉบับในหน้า
การศึกษาค้นคว้าอย่างยาวนานทั้งชีวิตของท่าน คือ วิชาชธรรมภาย2 ซึ่งหาทาเราจะได้ลองย้อนกลับจากคำสอนเมื่อครั้งท่านยังมีชีวิตอยู่นั้น เราจะพบว่า จากพระธรรมเทศนาเป็นจำนวนนามของท่านนั้น ได้กล่าวถึง "วิธีปฏิบัติธรรมแบบเห็นพระ" หรือการนอมนักถึงพระพุทธเจ้าในใจอยู่เสมอ โดยในหลายครั้งการกล่าวของท่านเป็นการกล่าวถึงขั้นตอนการปฏิบัติ อีกหลายครั้งเป็นการกล่าวถึง "พุทธลักษณะของพระ" และบางครั้งเป็นการกล่าวถึงคุณค่าหรืออานิสงส์ของการเห็นพระ ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรแก่การศึกษาอย่างยิ่งกล่าวกันว่าการดำเนินตามเส้นทางสายกลางในวิชาชธรรมภายนี้ เป็นทางดำเนินเดียวกันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกพระองค์ ทรงนำจากพระองค์ พระโปรจาจาทุกพระองค์ และเหล่าพระอรหัตตาสาวดำเนินไปจึงเป็นเส้นทางที่เข้าถึงได้สำหรับมนุษย์ทุกคนในโลกที่ทนาหน้าบาปปฏิบัติธรรม3
การค้นพบหลักฐานที่สำคัญข้างต้นนั้น ต้องถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการยืนยันความจริงหลายประการเกี่ยวกับ "วิชาชธรรมภาย" โดยแท้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อลงไปศึกษาผลงานการค้นคว้าของ ดร.ชนิดา จันทร์ศรีโสภา (บ.ศ.๙) นักวิจัยของสถาบันวิจัยนาฏศิลป์ธรรมชัย (DIR) นาฏวิทยาและงานวิจัยเรื่อง "ร่องรอยวิชชาธรรมภายในคติอาระและเอ่ียงกลาง" (พุทธศตวรรษ ๒๕๕๗) ก็จะยิ่งพบความสอดคล้องกันอย่างเห็นได้ชัด ในงานวิจัยนี้นั้น ดร.ชนิดาได้ตอกย้ำถึงประเด็นสำคัญ ๆ ไว้หลายจุด เช่น ความหมายของคำว่า "ธรรมภาย" ในคำสอนดังเดิมนั้น มีความเกี่ยวพันกับการตรัสรู้ธรรมและหมายถึงโลกุตตรธรรม รวมทั้งเป็นชีวิตใหม่ที่เข้าถึงได้ และนำความสุขมาให้แก่ผู้อย่างหรือเป็นเจ้าของ และที่น่าสนใจก็คือ
ก็คือ ในงานวิจัยนี้ หลังจากผู้วิจัยได้ทำการสำรวจเนื้อหาดั้งเดิมในคติอาระและเอ่ียงกลางแล้ว พบว่ามีคำวิจารณ์ว่า "ธรรมภาย" หรือเนื้อความสอดคล้องกับคำสอนของวิชาชธรรมภาย
(ในบางแห่งมุม) เป็นจำนวนถึง ๒๓ คำมดด้วยกัน เช่น ในโพสต์สัตว์ปฏิกสูตร คำมีวิรัชรัจฉานทกปรัชญาปรมิตา ในดนปุจฉลก สติตระ ในสมาธิรามสูตร ธรรมศีรษสูตร หรือในธรรมภายสูตร เป็นต้น ซึ่งบรรดาคำนี้หลายคำเป็นการกล่าวโดยตรงว่า "ธรรมภาย" และการบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณของพระพุทธเจ้านั้นเป็นสิ่งเดียวกัน ซึ่งในบางคัมก็ถึงกับระบุว่า
(บันทึกหน้ากระดาษ) อยู่ในบุญ พฤษภาคม ๒๕๕๒