การศึกษาเนื้อหาและสหวิทยาการเกี่ยวกับเทคนิคการทำสมาธิสมัยกลางของจีน  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2562 หน้า 47
หน้าที่ 47 / 63

สรุปเนื้อหา

งานวิจัยชิ้นนี้เสนอข้อวิเคราะห์เกี่ยวกับเทคนิคการทำสมาธิในคัมภีร์ตูนหงวน หมายเลข S.2585 โดยเฉพาะในยุคกลางของจีน ที่มีการรวมจิตให้ตั้งมั่นเป็นหนึ่งที่กลางสะอัด และเชื่อมโยงกับแนวคิดองค์พระภายใน องค์ประกอบที่สำคัญคือวิธีการรวมจิตที่ส่งเสริมการตื่นรู้ การฝึกปฏิบัติในรูปแบบนี้ช่วยให้ผู้ปฏิบัติได้ระลึกถึงพระพุทธเจ้าอย่างลึกซึ้ง งานวิจัยนี้มีพื้นฐานมาจากข้อวิเคราะห์จากพระเกียรติศักดิ์ กิตติปฺโภ ที่ศึกษาเกี่ยวกับสมาธิในยุคประวัติศาสตร์นี้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการประยุกต์แนวทางการทำสมาธิในพระพุทธศาสนาและประสบการณ์ทางจิตที่สำคัญในยุคนั้น รวมถึงการเชื่อมโยงกลับสู่การปฏิบัติเพื่อความตื่นรู้

หัวข้อประเด็น

-การทำสมาธิในยุคกลางของจีน
-คัมภีร์ตูนหงวนหมายเลข S.2585
-องค์พระภายใน
-เทคนิคการทำสมาธิ
-การฝึกปฏิบัติในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า หลักฐานที่คนพบในงานวิจัยฉบับนี้ (ซึ่งยังมีอีกมากไม่อาจนำมาแสดงได้หมด ณ ที่นี้) ยังเป็นไปในทางเดียวกันกับข้อวิเคราะห์จากงานพระเกียรติศักดิ์ ติกปฏิปฺโภ ที่ทำการศึกษาเรื่อง “คัมภีร์ตูนหงวน หมายเลข S.2585 : การศึกษาเนื้อหาและสหวิทยาการเกี่ยวกับเทคนิคการทำสมาธิและประสบการณ์ถกเถียงในสมาธิ ช่วงยุคกลางตอนต้นของจีน” โดยท่านได้อธิบายให้เห็นว่าแม้นในประเทศจีนเองในช่วงระหว่างปี ค.ศ. ๒๐๙๐-๓๐๙๓ (พ.ศ. ๑๑๒๓-๑๑๖๒) ก็ยังปรากฏให้เห็นถึงวิธีการทำสมาธิทางพระพุทธศาสนาที่เป็น การรวมจิตให้ตั้งมั่นขึ้นเป็นหนึ่งไว้ที่กลางสะอัด (yixin guanqi – 心觀磯) ทำให้ปฏิบัติเข้าสู่ภาคทัศน์ในสมาธิอันศักดิ์สิทธิ์ ที่บ่งชี้แนวคิด “องค์พระภายใน” สะท้อนคำตนะ “ตถาคตภรฺย” (tathāgatagarbha) ที่เป็นประจุระตุไปสู่ความก้าวหน้าของการตื่นรู้ เป็นทางสายกลางสำหรับการเดินทางภายในกายสู่ภาริ่นสุดของสังสารวัฏ ซึ่งโดยภาพรวม คัมภีร์นี้อธิบายได้ถ่ายทอดวิธีการปฏิบัติสายวัง ๙ วิธี หนึ่งในนั้นคือวิธี “รวมจิตให้เป็นเอกตามณัสโนจน์แล้วนึกพุทธเจ้า” (yixin guanfo – 心觀佛) โดยเริ่มจากการฝึกให้ผู้ปฏิบัตินิยมพุทธลักษณะของพระรูปภายของพระพุทธเจ้าเป็นขั้นตอนแรก ขั้นที่ในส่วนของสมาธิแบบนี้ นิยมถึงพระพุทธเจ้า (guanfo sanmei 觀佛三味) ได้สรุปเสร็จในพระพุทธเจ้าว่าทรงเป็นราชาแห่งธรรมะทั้งปวง การกำหนดพุทธนูลสามารถตรอจินนิบากรรมเก่าของผู้ปฏิบัติได้ ผู้ปฏิบัติพึ่งกำหนดสติละลึกถึงพระพุทธเจ้าเสียก่อน มีประโยคหนึ่งกล่าวว่า “หากเจ้านึกถึงพระองค์ พระองค์จะนึกถึงเรา” งานวิจัยของพระเกียรติศักดิ์ กิตติปฺโภ ที่ทำการศึกษาเรื่อง “คัมภีร์ตูนหงวน หมายเลข S.2585 ★★★★★ ๖ ดูรายละเอียดใน : ชนิฎา จันทราศรีโสภา, ร่องรอยวิชาการธรรมในคานธาระและเอเชียกลาง, สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย ประเทศออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์, ๒๕๕๙. (อ่านต่อบท่นหน้า) พฤษภาคม ๒๕62 อยู่ในบุญ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More