การเข้าใจเกี่ยวกับเปรตและปีศาจในพระพุทธศาสนา Case Study ที่ทุกคนต้องรู้ เล่มที่ 1 หน้า 12
หน้าที่ 12 / 34

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับเปรตและปีศาจในพระพุทธศาสนา ว่ามีหลายประเภทและมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน รวมถึงความทุกข์ทรมานที่เผชิญ ต้องใช้ชีวิตอย่างไรในโลกหลังความตาย และการเป็นอยู่ของพวกเขาในช่วงพุทธันดร เมื่อไม่มีกระแสของพระพุทธศาสนา ข้อมูลจากพระไตรปิฎกเน้นถึงความสำคัญและความน่าสนใจในเรื่องของวิญญาณเหล่านี้.

หัวข้อประเด็น

-ความเชื่อเกี่ยวกับเปรต
-ปีศาจและความทุกข์
-พุทธันดร
-ประเภทอสุรกายในพระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ชอนไชบ้าง แต่ไม่ตาย จนกว่าจะสิ้นกรรม ซึ่งยาวนาน เป็นหมื่น เป็นแสน เป็นล้านๆ ปี จนกระทั่งถึงพุทธันดร เปรตก็คล้ายๆ กับอสุรกาย มีหลายชนิด ตามที่มี บันทึกอยู่ในพระไตรปิฎกมีอยู่ ๑๒ ประเภท บางชนิดก็มี ลักษณะคล้ายมนุษย์ เช่น เรื่องสุกรเปรต ตัวเป็นคนหัวเป็น หมู บางชนิดก็มีรูปร่างไม่เหมือนมนุษย์ เช่น เปรตก้อนเนื้อ ที่เกิดจากแรงกรรมของคนทำแท้ง สูงใหญ่เท่าตึก ต้องรับ ทุกข์ทรมานมาก ส่วนกายของปีศาจ ไม่ได้พิกลพิการอย่างอสุรกายหรือ เปรต แล้วก็ไม่ได้ถูกทัณฑ์ทรมาน ไม่มีไฟมาเผาไหม้ ไม่มี หนอนมาชอนไช แต่จะทุกข์ทรมาน มีรูปกายไม่งาม น่า เกลียดน่ากลัว เช่น ตอนเป็นมนุษย์ถูกเขาฆ่าด้วยการตัดคอ พอตายไปเป็นปีศาจแล้ว จะเอามือถือหัวของตัวเองเที่ยว เดินไป หรือถ้าโดนรถชนแขนขาดขาขาด เป็นปีศาจแล้วก็ เดินถือแขนถือขา ติดมือไป ไม่ได้คิดจะไปหลอกใคร แต่ถือ ติดมือไปเพื่อให้เขาช่วย ปีศาจจะมีลักษณะทำนองนี้ อยู่ใน ภพละเอียดที่ซ้อนอยู่บนพื้นมนุษย์ ท่องเที่ยวเร่ร่อนอยู่ เหมีอนกายสัมภเวสีที่แสวงหาที่เกิด ๑) พุทธันดร เป็นช่วงเวลาที่โลกว่างจากพระพุทธศาสนา คือช่วงเวลาที่ศาสนาของ พระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งสูญสิ้นแล้ว และพระพุทธเจ้าพระองค์ใหม่ยังไม่อุบัติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More