ชีวิตและการทำบุญของคุณฐิติภา ภัทรนาวิก Case Study ที่ทุกคนต้องรู้ เล่มที่ 1 หน้า 18
หน้าที่ 18 / 34

สรุปเนื้อหา

เรื่องราวของคุณฐิติภา ภัทรนาวิกและชีวิตที่เปี่ยมไปด้วยการทำบุญและความเข้าใจในพระพุทธศาสนา หลังจากภรรยาของคุณฐิติภาเริ่มปฏิบัติธรรม สามีที่เป็นชาวต่างชาติได้เข้าใจถึงคุณค่าของบุญแม้จะไม่เชี่ยวชาญ ทั้งคู่ร่วมทำบุญจนกระทั่งวาระสุดท้ายของชีวิต เมื่อภรรยาอุทิศบุญให้สามี, วิญญาณของสามีก็ได้พบกับความสุขในสวรรค์ ทำให้เห็นคุณค่าในวิถีชีวิต และข้อคิดในการสร้างบารมีตลอดจนการเชื่อมต่อจิตใจของคนสองเชื้อชาติได้เป็นอย่างดี

หัวข้อประเด็น

-ชีวิตและการทำบุญ
-คุณฐิติภา ภัทรนาวิก
-ความเชื่อในพระพุทธศาสนา
-การสร้างบารมี
-ความรักที่ไม่มีขอบเขต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เป็นคนดีในสังคมทั่วๆ ไป ส่วนภรรยาเป็นคนไทย ชื่อ คุณฐิติภา ภัทรนาวิก นับถือพระพุทธศาสนาตามทะเบียน บ้าน ใครชวนทำบุญก็ทำบ้าง สนุกสนานเพลิดเพลินไปวันๆ ชีวิตประจำวันก็ดื่มสุราเล็กๆ น้อยๆ ตบยุงนิดๆ หน่อยๆ ก็ คิดว่าคงไม่เป็นไร ทั้งสอง ประคองชีวิตอยู่กันด้วยความ ผาสุก เพราะพื้นฐานจิตใจต่าง ก็ดีงามด้วยกันทั้งคู่ ต่อมาภรรยาเริ่มเข้าวัด ปฏิบัติธรรม จึงเริ่มเข้าใจเรื่อง คุณฐิติภา ภัทรนาวิก การทําบุญสร้างบารมี เข้าใจเรื่องราวของชีวิตว่าเกิดมาทำไม อะไรคือเป้าหมายที่แท้จริงของชีวิต จึงตั้งใจสร้างบุญบ่อยขึ้น อีกไม่นานสามีป่วยต้องเข้าโรงพยาบาล พอเริ่มป่วย ภรรยาก็ชวนทำบุญอยู่เรื่อยๆ จนกระทั่งในช่วงสุดท้ายของ ชีวิต ได้พาสามีไปถวายปัจจัยสร้างพระธรรมกายประจำตัว ถวายภัตตาหารพระภิกษุ และทำบุญอื่นๆ ที่มีในวัด ทั้งๆ ที่ อยู่ในรถพยาบาล จริงๆ แล้ว สามีก็ยังไม่เข้าใจเรื่องบุญเท่าไร เพราะเป็นชาวต่างชาติ ต่างศาสนา แต่จิตเป็นกุศล พอ กลับไปอยู่โรงพยาบาล ภรรยาก็บอกให้นึกถึงบุญไปเรื่อยๆ จนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต จิตกำลังเกาะเกี่ยวอยู่ในบุญ แม้ไม่เข้าใจเรื่องบุญ แต่ ทำบุญด้วยจิตเลื่อมใส ถูก ทักขิไณยบุคคล” เมื่อจิต เลื่อมใสก็เห็นภาพที่สร้าง บุญสว่างอยู่กลางใจ พอ ตายไปก็ได้บังเกิดขึ้นอยู่ กลางวิมานทองบนสวรรค์ ชั้นดาวดึงส์ทันที เหมือน คุณฐิติภา เป็นประธานกฐินอุทิศให้สามีที่ ตื่นจากหลับ ส่วนภรรยาเมื่อ เสียชีวิต ทำบุญทุกครั้งก็อุทิศส่วนกุศลไปให้สามีอยู่เรื่อยๆ เช่น เป็น ประธานกฐินสามัคคีปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อสร้างมหาวิหาร พระมงคลเทพมุนี ก็อุทิศส่วนกุศลไปให้สามี วิมานของสามี ก็ขยับไปอยู่ในที่ดีมากขึ้น และสว่างไสวกว่าเดิม กายทิพย์ก็ มีรัศมีสวยงามยิ่งขึ้น แล้วก็ปลื้มอกปลื้มใจในบุญที่ภรรยา อุทิศส่วนกุศลมาให้ เรื่องนี้ได้ให้ข้อคิดว่าใครจะมีความเชื่อในเรื่องเชื้อชาติ ๑) ทักขิไณยบุคคล น. แปลว่า บุคคลผู้ควรรับทักษิณา (ของทำบุญ) : พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More