ความแตกต่างระหว่างอกุศลกรรมบถและกุศลกรรมบถ วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน กรกฏาคม พ.ศ.2550 หน้า 36
หน้าที่ 36 / 76

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการพูดเท็จในพระธรรมเทศนา ที่กล่าวถึงลักษณะและประเภทของการพูดเท็จ รวมถึงการกระทำที่เกี่ยวข้องที่มีผลต่อการหลงเชื่อของผู้อื่น การพูดเท็จรวมถึงการโกหก การทำเท่ห์ การอวดอ้าง และความพอใจในความเท็จ ซึ่งถือเป็นอกุศลกรรมบถที่ควรหลีกเลี่ยงในการดำเนินชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา เนื้อหานี้นำเสนอโดยพระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว) เพื่อนำเสนอแนวทางการประพฤติและยึดมั่นในหลักธรรมคำสอนที่ถูกต้องเพื่อชีวิตที่ดียิ่งขึ้นด้วยความจริง.

หัวข้อประเด็น

- ในการพูดเท็จ
- ลักษณะของการโกหก
- ผลกระทบจากการพูดเท็จ
- วิธีการที่ใช้ในการสร้างความเชื่อ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๔ พระธรรมเทศนา ความแตกต่างระหว่าง อกุศลกรรมบถและกุศลกรรมบถ เรียบเรียงจากพระธรรมเทศนาพระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว) ochrym การพูดเท็จ ( ตอนที่ ๒ ) การพูดเท็จ หมายถึง การที่บุคคลใดเจตนา พูดให้ผู้ฟังเข้าใจผิดไปจากความจริง เมื่อไม่รู้กล่าว ว่ารู้ หรือเมื่อเห็นกล่าวว่าไม่เห็น นอกจากนี้การพูด เท็จยังรวมไปถึงการทำเท็จให้ผู้อื่นหลงเชื่อด้วย วิธีการดังนี้ คือ รับผิด ๑. ปด คือ โกหกจัง ๆ ๒. ทนสาบาน คือ การที่ทำผิดแล้วไม่ยอม ล. ทำเล่ห์กระเท่ห์ คือ การอวดอ้างสรรพคุณ เกินความจริง เพื่อให้ผู้อื่นหลงเชื่อ ๔. มารยา คือ การแสร้งทำ โดยใช้เล่ห์กลเพื่อ ให้ผู้อื่นเชื่อ ๕. ทำเลส คือ การทำให้ผู้อื่นตีความคลาด เคลื่อนเอาเอง 5. เสริมความ คือ การกล่าวเรื่องที่มีมูลน้อย ให้เป็นเรื่องใหญ่ ๓. ความ คือ การปกปิดเรื่องมากให้เป็น เรื่องเล็กน้อย การพูดเท็จนี้ครอบคลุมถึงการกระทำใน ลักษณะ คือ ค. พูดเท็จด้วยตนเอง ๒. ชักชวนผู้อื่นในการพูดเท็จ ๓. . พอใจในการพูดเท็จ ๔. กล่าวสรรเสริญการพูดเท็จ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More