ข้อความต้นฉบับในหน้า
4. ปัญญาบารมี
เมื่อพิจารณาต่อไปอีก ก็พบว่ากระบวนอันสูง 4 จะต้องนำเพียรเพื่อปัญญามีท่านให้โอกาสตนเองต่อไปว่า
"เจริญเพียรปัญญาบารมีนี้ขึ้นไป พิสูจน์ไปตามปัญหากว่าจะท่านเป็นบันไดตก
จะเป็นกิเลสต่ำ ต่ำกว่ากลาง สูงสุด ไม่มีกี่ฝ่ายหมด"
ตรงนี้สำคัญ อยากจะมีปัญญาแล้วต้องให้ความสำคัญ อย่าไปคิดว่า เรานั้นเป็นคนชั้นสูง เราเคยมั่นคง ฯลฯ ถ้าเขามีความจริงจัง จะเป็นของท่าน จะเปลี่ยนท่านกาก ไม่ใช่ใครเขา
ย่อมยิ่งเกิด ฯ หรอจะเป็นคนชั้นสูง ต้องนำไปกราบบารมีของเขาเอง เพื่อเติมพูนความของเรา ๆ เหนืออนะโล2?
"เหมือนอย่างกิเลสกู้เกลือการบูชาบารมีทุกอัตตา ญาณเที่ยบจิตบารมีไปตามคำคำไม่ว่น ตะกูลสูง ตระกูลต่ำ ตะกูลกลาง ฯ คะยามได้ของพอเหลือกินได้จะได้จริงรึไม่? แล้วกลัวเงินเหมือนอย่างชั้น จงหมิ่นเข้าไปตามบารมี ฯ จงสมาทานำเผบปัญญาบารมีไว้นั่นจึงได้เป็นพระพุทธเจ้า"
คือไม่ถือว่า ใครเป็นบัณฑิตมีความรู้ แมจะเป็นเด็กกว่าเรา อายุอ่อนกว่าเรา ต้องเข้าไปกราบขอความรู้ ฯ ต้องทำกันอย่างนั้นแล้ว ปัญญาของเราจะเพิ่มพูนเร็ว
5. วิริยาบารมี
สุเมธาดูพิจารณาต่อไปอีก ก็พบว่าคุณระดับ 5 จะต้องนำเพียรวิริยาบารมีทำให้เขาว่า
"...ภายสี่ออมมีความเพียรมั่นทุกอริยาบถ โดด" แม้เธอจงเป็นเหมือนอย่างนั้น จงประคองความเพียรให้แน่น ไม่ทอดทิ้งทุกอริยาบถ
คำว่า ความเพียรในนี้ ไม่ใช่เพียรทำกันนะ เพียรทำกันเป็นความเพียรเบื้องต้น ในที่นี้ท่านหมายถึงความเพียรเบื้องสูง คือ เพียรที่จะละความชั่ว เพียรที่จะทำความดี แล้วก็เพียรที่จะทำใจให้ใส ๆ ขึ้นไป