ข้อความต้นฉบับในหน้า
โอกาสส่วนที่สาม คือ วิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสแสดงไว้ ๖ ประการ คือ
๑. การไม่เข้าไปว่ายกัน
๒. การไม่เข้าไปล้างผลาญกัน
๓. ความสำรวมในพระปริโมทษ
๔. ความเป็นผู้รับมาผนในโภชนาหาร
๕. การนอบน้อมในที่อันสงบ
๖. การประกอบความเพียรในจิตติ
การที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทานโอวาทดังนี้เพราะว่าทรงมุ่งหมายให้เหล่าพระอรหันต์ทำหน้าที่ประกาศธรรม นำเสนอส่วนแห่งการพุกของไปสู่ภาวะสันติวิธี เพื่อให้โลกได้รับทราบความจริงว่า พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งดีสัจจ โดยดูได้จากวัตรปฏิบัติของพระอรหันต์ที่เป็นตัวแทนของพระองค์ไปประกาศกลายแนวกันต่างๆ ที่สามารถเป็นแบบอย่างในการฝึกฝนอบรมตนเองจนสามารถทำทุกสิ่งทุกอย่างสำเร็จแล้วและยังสามารถเป็นต้นแบบในการดำเนินชีวิตอย่างสงบสุขอีกด้วย ได้แก่
๑. เป็นต้นแบบสัมมาจาก คือ เป็นผู้มีการเจรจาจูงด้วยการไม่ร้ายโจมตีใคร
๒. เป็นต้นแบบสัมมามั่นตะ คือ เป็นผู้มีการกระทำด้วยการไม่ทำร้ายเบียดเบียนใคร
๓. เป็นต้นแบบสัมมอาชีวะ คือ เป็นผู้มีการประกอบอาชีพอย่างถูกวิธีด้วยการเลี้ยงชีวิตโดยไม่ผิดศีล
๔. เป็นต้นแบบสัมมาวายามะ คือ เป็นผู้มีความเพียรชอบด้วยการรูปรวมในโภชนาฯ เพื่อผดกใจให้กายเอยในอำนาจแห่งต้นหา ซึ่งจะเป็นเหตุให้เล่ากำไรเป็นสมานขึ้นมาโดยอาย่วงทางของความไม่รูปรวมในการใช้จัย ४ เข้ามาควบคุมในมนษย์ให้กลายเป็นทาสของก็เลยไปลดลา
๕. เป็นต้นแบบสัมมาสติ คือ เป็นผู้มีความระลึกชอบด้วยการเลือกอยู่ในสถานที่ที่ส่งจากความยำเกำย้วนให้ตกอยู่ในอำนาจสิ
๖. เป็นต้นแบบสัมมามัคติ คือ เป็นผู้ใด้นั้นก็สนับสนุนด้วยการเจริญสมาธิรวมกันและชักชวนชาวโลกให้เจริญสมาธิว่าเป็นประจำ เพราะการเจริญสมาธิก่อนนั้นเป็นหนทางเดียวที่จะทำให้การปฏิบัติอย่างดีงามเป็นที่สุดด้วยการทำความดีจงกรมควรอธิษฐานครอบครองทุกประการ อันจะเป็นหนทางไปสู่การปราบกิเลสในใจให้ดีขึ้น สามารถบรรลุธรรมตามพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หลุดพ้นจากคุกแห่งการเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสารนี้ออกไปได้สำเร็จ
ดังนั้น โอกาสในส่วนที่สามนี้คือ การปลุกฝังวิธีฝึกอบรมจิตให้สูงพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสารให้แก่ประชาชน โดยมีพระรอดที่ทำหน้าที่เป็นต้นแบบในการดำเนินชีวิต และเป็นครูแนะนำสอนการปฏิบัติธรรมม์องค์ ๕ ให้แก่ประชาชนเอง