วิธีแก้ปัญหาเด็กติดเกม วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2555 หน้า 66
หน้าที่ 66 / 100

สรุปเนื้อหา

ในรายการข้อคิดRonบั อาจารย์พระมหาสมชาย ฐานวุฒิ (ม.ด. Ph.D.) แนะนำวิธีการจัดการเด็กติดเกม โดยเน้นความเข้าใจพฤติกรรมในการติดเกมที่สัมพันธ์กับความรู้สึกของการชนะและความสำเร็จในชีวิตจริง การเล่นเกมเป็นการจำลองชีวิต เส้นแบ่งระหว่างความสุขจากการชนะในเกมและความจริงอาจมีความคล้ายคลึงกัน เหตุผลที่ทำให้คนติดเกมแตกต่างกันตามภูมิหลังและประสบการณ์ที่ผ่านมา หากไม่มีการควบคุมอาจนำไปสู่ปัญหาสุขภาพ ดังนั้น จึงควรมีการส่งเสริมการพักผ่อนและการเล่นเกมอย่างมีสติ.

หัวข้อประเด็น

- พฤติกรรมเด็กติดเกม
- การชนะและความสำเร็จ
- ผลกระทบจากการเล่นเกม
- ความแตกต่างในภูมิหลังแต่ละคน
- แนวทางการจัดการติดเกม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ข้อคิดRonบั เรื่อง พระมหาสมชาย ฐานวุฒิ(ม.ด. Ph.D.) จากรายการข้อคิดRonบั ออกอากาศทางช่อง DMC เลิกเล่นเกมอย่างนุ่มนวล จะแก้ไขปัญหาเด็กติดเกมได้อย่างไร อาตมาไม่อยากใช้คำว่า เด็กติดเกม เพราะบางผู้ใหญ่ติดเหมือนกัน ถามว่า ทำไมถึงติดเกมเป็นเพราะธรรมชาติของคนชอบแสวงชัยชนะ ชอบความสำเร็จ รู้สึกพึงพอใจในความสำเร็จ ในชัยชนะแต่ในชีวิตจริงการเอาชนะอะไรก็อย่างเป็นเรื่องยาก ไม่ว่าระดับการเรียนหรือการงาน ในชีวิตจริงไม่ง่าย เพราะมีปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้มากมาย แต่ในเกมเป็นการจำลองชีวิต และใช้เวลาอาจจะเพียงครึ่งชั่วโมงหรือชั่วโมงก็สามารถเล่นได้แล้ว ถ้าเล่นแล้วไม่ชนะก็อยากจะชนะ พอชนะแล้วก็อยากจะได้แต้มก็เก่าแก่ยิ่ง ๆ ขึ้นในปัจจุบันนั้นจนจบตอนทั้งเวลา ผ่านไปโดยไม่รู้ตัว เดี๋ยวก็ถึงเวลานอน 2 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง อดหลับอดนอน บางคนเล่น 2 วัน 3 วันแทบไม่ได้หลับเลยก็มี เพราะพอใจกับชัยชนะในเกมนี้ก็คล้าย ๆ กับการติดการพนันเหมือนกัน คนติดการพนันบางคนในวัยครึ่งชั่วโมงก็เมือแล้ว แต่ถ้าเล่นไม่ได้พักผ่อนก็ไม่ปมบเพราะอะไร เพราะว่าตอนนั้นก็อยากเล่นต่อ ตอนแพ้ก็อยากจะแก้ตัว แก้ตัวแล้วเกมหน้าน่ะก็ชนะ พอชนะก็ชอบ แล้วเดี๋ยวเกมหน้าน่ะก็จะแบบนี้ ทำไมเกมเดียวกัน เด็กแต่ละคนเล่นแล้วมีที่ต่างกัน เรื่องนี้เป็นเรื่องธรรมดา เพราะว่ แต่ละคนมีภูมิหลังไม่เหมือนกัน อาจกล่าวได้เหมือนกัน บุคคลที่เคยสัมผัสไว้ในอดีตไม่เหมือนกัน ทำให้การตอบสนองต่อเกมที่เล่นอ่อนไม่เท่ากัน ทั้งด้อมพื้นภูมิหลัง ทั้งด้วยสิ่งแวดล้อม รวมทั้งระยะเวลในการเล่น บางคนอาจจะเล่นแบบธรรมดา ๆ บางคนอาจจะเล่นทั้งวันทั้งคืนจนกระทั่งไปเลยเหมือนกับว่า ตัวเองอยู่ในเกมนั้นจริง ๆ รู้สึกว่าตัวเองทำได้จริง ๆ ในสมัยพุทธกาลมีตัวอย่างเหตุการณ์เช่นนี้บ้างไหม คือเรื่องเดียวกันแต่มองคนละมุม ไม่ว่าจะคูไหนมิสไหม่ในกรมองคนละมุมก็มีอยู่เป็นเรื่องปกติ ในครั้งพุทธกาล นักบวชศาสนาอื่นบางคนพบพระสัมมาสัมพุทธเจิดใจว่ามาพบ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More