สมองส่วนลิมบิกและการอ่านภาษากาย Dhamma TIME เดือนมีนาคม พ.ศ.2556 หน้า 27
หน้าที่ 27 / 40

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงสมองส่วนลิมบิกที่มีบทบาทสำคัญในการเข้าใจภาษากายของบุคคล และวิธีที่มนุษย์พัฒนาภาษากายส่วนตัวเอง เช่น การอ่านอารมณ์จากรอยยิ้ม รวมถึงเทคนิคในการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่ช่วยในการประเมินความคิดของผู้คนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นวิธีสังเกตบรรยากาศและอารมณ์ของผู้คนในสภาพแวดล้อมต่างๆเพื่อเสริมความเข้าใจข้อมูลที่ได้

หัวข้อประเด็น

-สมองลิมบิก
-ภาษากาย
-การสังเกต
-อารมณ์
-เทคนิคการเข้าใจคน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สมองส่วนที่เรียกว่าลิมบิก (Limbic) โฉนฉานวิธีนี้ควรเป็นผู้ที่ลาสามาก เวลา ที่เราไปดู วิธีอานภาษากาย ของนักเขียนคนนี้ เขียน คนนั้น เขียนจะเห็นว่าเหมือนเป็นเทฟเทิร์น ถ้าอย่าง นั้นต้องเป็นอย่างนั้นเอง แต่ใจ นาวารี ไม่ได้ คิดอย่างนั้น เขาบอกว่าภาษากายของมนุษย์ เนื่องจากมันออกมาจากสมองส่วนลิมบิก เพราะ จะนั้นมันมีแพทเทิร์นหรือว่าเป็นภาษากายของคนๆ นั้น เอง จะมีภาษาส่วนตัวของเขา ภาษากายล่างๆ ที่อาจ จะมีได้ เช่น รอยยิ้มเวลามีความสุข หรือแอบยิ้ม โดยเราจะรู้ว่าเขาชื่ออะไรไว้ อยู่ อาจจะเป็น ภาษากายที่กลางๆ แต่จริงๆ แล้วคนพัฒนา ภาษากายของตัวเองขึ้นมาเพราะฉะนั้นการที่ โจ นาวารี จะอ่าน หรือว่าใครก็ยังไง จะต้องใช้ เวลาคุยคลี่อยู่กับคนนั้นเหมือนพลก FBI ใช้เวลา 3 วัน โดยใช้วิธีการถามหลากหลายความจริงและไม่ จริงเพื่อจะนาว่า คนนันพูดจริงหรือไม่ เทคนิคในการอ่านความคิด 1. เป็นนักสเกตตอบตัวที่เก่งๆ เริ่มจากการ สเกตสิ่งที่อยู่รอบตัวเราทุกอย่าง และคอยสังเกต 2. สังเกตบรรยากาศ เพราะภาวะเราจะ เข้าใจอารมณ์ของคนรอบข้าง เป็น กุญแจที่จะตอดหรืออำนายภาวะ ความหมาย ของสิ่งต่างๆ เหล่านั้น เกิดเหตุการณ์อะไรบีบ และ สังเกต ดูอารมณ์ของเขาแล้วเก็บข้อมูล
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More