การสังเกตพฤติกรรมและภาษาไม่เหมาะสม Dhamma TIME เดือนมีนาคม พ.ศ.2556 หน้า 29
หน้าที่ 29 / 40

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เน้นการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลในสถานการณ์ต่างๆ เพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น เช่น การกอดอกหรือการนั่งไขว่ขาง ผู้เขียนแนะนำให้ค้นหาเบาะแสจากหลายประเด็น และสังเกตได้ง่ายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ชัดเจน การเรียนรู้ที่จะตรวจจับสัญญาณที่เกี่ยวข้องสามารถช่วยให้เราเข้าใจถึงความสบายใจและความอึดอัดใจของคนอื่น การสังเกตอย่างระมัดระวังช่วยให้เราไม่ให้เขารู้ว่ากำลังจ้องดูอยู่ ซึ่งจะทำให้เรามีความเข้าใจมากขึ้นในนิสัยและท่าทางของพวกเขา โดยไม่ต้องตึงเครียดหรือมาพยายามซ่อนความจริง

หัวข้อประเด็น

-การสังเกตพฤติกรรม
-การแสดงออกของอารมณ์
-การเปลี่ยนแปลงทางด้านพฤติกรรม
-การวิเคราะห์ภาษากาย
-ความสบายใจ vs ความอึดอัดใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เขา ยามปกติเขาวางมือย่างไร คนที่เป็นคนชอบ กอดอก นั่งไขว่ขาง วางมืบนัตัวเอง ในที่สุดเราจะรู้ว่าเมื่อมีเหตุการณ์ผิดปกติเกิดขึ้นรูปแบบพฤติกรรมของเขาจะเปลี่ยนไปจากเดิม 6.พยายามหาเบาะแสหลายๆ อย่างมอง พฤติกรรมที่เป็นกลุ่มก้อน ต้องหาเบาะแสหลายๆ อย่างแล้วมองไปที่พฤติกรรมที่มึนเป็นกลุ่มก้อน 7.สิ่งสำคัญในการมองหาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างจับพลัน มองทางด้านการแสดงออกอย่างจับพลันทันที ยกตัวอย่างเหมือนเด็กที่เล่นอยู่ แล้วเขาก็บอกให้หยุดเล่นโดยไม่มีสาเหตุอันม่ิงข้อง 8.เรียนรู้ที่จะตรวจจับสัญญาณ ที่ส่งออกมา แล้วอาจจะทำให้เราจับผิด เช่น บางคนชอบจับคอตัวเองเพราะเป็นโรคกระดูกคอ 9.การแยกแยะระหว่างความสบายใจ และ ความอึดอัดใจแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งแต่ละคนจะมี ลักษณะเฉพาะของตัวเองจะแสดงออกมาเป็นกลุ่ม ทั้งความสบายใจและความอึดอัดต้องอาศัยการ สังเกต 10.เวลาสังเกตผู้อื่น ให้ทำอย่างแทบเนียน เมื่อไหร่ที่สังเกตคนอื่นๆทำอย่างแทบเนียน อย่า ให้เขาทราบว่าเรากำลังจ้องดูเขาอยู่ การสังเกตจะทำให้เรารู้เขาและระวังไม่ให้เขา รู้เราได้ ที่สำคัญเราแสดงความจริงใจออกไปดีกว่า ไม่ต้องมะดิระวังอะไร ความจริงเป็นสิ่งที่ดีที่สุด แต่สิ่งส่วนของทางโลกที่จะทำให้รู้ภาษากายาเนี่ย เป็นส่วนของทัศนคติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More