ความริษยาในพระพุทธศาสนา วัยใส ใจใส (ฉบับ 2 ภาษา) หน้า 27
หน้าที่ 27 / 73

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าที่ไม่มีความริษยาต่อผู้อื่น และเรื่องราวเด็กที่มีความริษยาเมื่อเห็นพระมหากัสสปเถระ เด็กเหล่านี้ถวายขนมให้พระเถระตามคำแนะนำของพระศาสดา ขณะเดียวกันยังมีการพูดถึงการกราบและการกล่าวโทษในพระพุทธศาสนา โดยมุ่งเป้าไปที่การเรียนรู้แนวทางปฏิบัติโดยยึดพระธรรมคำสอนเป็นหลัก.

หัวข้อประเด็น

-พระพุทธศาสนา
-ความริษยา
-การถวายขนม
-พระมหากัสสป
-แนวทางปฏิบัติในพระศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ตามธรรมดา พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมไม่มีความริษยา หรือคิด้ร้าย แม่ในคนใดคนหนึ่ง; เพราะฉะนั้น พระศาสดาตรัส คำนี้แล้วจึงพากิริยสุขไปประทับนั่งใต้ร่มไม้ต้นหนึ่ง. พวกเด็ก เห็นพระมหากัสสปเถระเดินมาข้างหลัง เกิดความริษยา มีสีระเต็มเปียมด้วยกำลังแห่งบิต วางกระเช้าให้พระเถระด้วยเบญจางคประดิษฐ์ ยกขนมพร้อมทั้งกระเช้าที่เดียวแล้ว กล่าววะพระเถระว่า "นินนรัฐรับิิด ขอน้อม" ลำดับนั้น พระเถระกล่าวกะเด็กเหล่านี้ว่า "นั่นพระศาสดาพาทิรกูชูสูงไปประทับนั่งแล้วที่โคนไม้, พวกเธอจงถือไทยธรรมไปแบ่งส่วนถวายก็สงเคราะห์." พวกเด็กรับว่า "ดีละ ขอบับ" แล้วกลับไปพร้อมกับพระเถระที่เดียว ถวายขนมแล้ว ยืนมองดูอยู่ ณ ส่วนข้างหนึ่งแล้วได้ถวายน้ำ ในเวลาฉันเสร็จ. ริษยู้ทั้งหลายโพนทะนาว่า "พวกเด็กถวายขนมเพราะเห็นแก่หน้า, ไม่ต้องรับพระสันสนมาสัมพุทธเจ้า หรือพระโมคำเถระ ทั้งหลายด้วยขนม เห็นพระมหากัสสปเถระแล้ว ลื้อเอาขนมพร้อมกระเช้ามาแล้ว." ❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️ อ่านว่าสะเทือน, แปลว่า ตัว, ร่างกาย. การกราบโดยให้อ้อมทั้ง ๕ คือ เข่าทั้ง ๒ มือทั้ง ๒ และหน้ากากจดลงกับพื้น. พระมหากัสสปเถิดน ๑๐ ขึ้นไป เรียกว่า พระเถระ. กล่าวโทษ ตีเตียน พูดกล่าวโทษท่านต่อหน้าผู้อื่น.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More