ความสำคัญของชีวิตนักบวชในการประพฤติพรหมจรรย์ วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2548 หน้า 29
หน้าที่ 29 / 54

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายถึงความสำคัญของชีวิตนักบวชในการประพฤติพรหมจรรย์ โดยชี้ให้เห็นว่า พระภิกษุมีโอกาสที่จะบำเพ็ญเพียรในการทำบุญและศึกษาพระธรรมวินัยได้ดีกว่าผู้ที่ครองเรือน พร้อมกับตัวอย่างเช่น พระโสณกุฏิกัณณะ ที่มีมโนปณิธานอันแน่วแน่ในการบวชและปฏิบัติตามพระธรรมอย่างเข้มแข็ง ทำให้เกิดผลสำเร็จทั้งในด้านจิตใจและวิญญาณ นอกจากนี้ยังได้มีการพูดถึงบทบาทของการนำคำสอนของพระพุทธเจ้ามาประยุกต์ใช้ให้อยู่ในชีวิตประจำวัน รวมถึงการแสดงถึงประโยชน์และอานิสงส์จากการเป็นพระภิกษุที่ประพฤติพรหมจรรย์อย่างเคร่งครัด โดยมีพระเถระเป็นต้นแบบในการส่งเสริมการบวชอย่างเหมาะสม

หัวข้อประเด็น

- คำสอนของพระพุทธเจ้า
- ประโยชน์ของการบวช
- ชีวิตนักบวชกับชีวิตฆราวาส
- ตัวอย่างพระโสณกุฏิกัณณะ
- การประพฤติพรหมจรรย์ในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไว้ในสามัญญผลสูตรอย่างชัดเจนว่า บรรพชา หรือชีวิตนักบวชนั้น เป็นทางปลอดโปร่ง เพราะ ความเป็นอยู่ของพระภิกษุ ย่อมมีโอกาสประพฤติ พรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์ได้ง่าย เมื่อเทียบ กับชีวิตของผู้ครองเรือน โดยพระวินัยแล้วการ เลี้ยงชีพของพระภิกษุขึ้นอยู่กับฆราวาส พระ แก่อุบาสกเสมอๆ ว่า “บุคคลผู้ครองเรือนจะ ประพฤติพรหมจรรย์ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์ดุจสังข์ขัด ไม่ใช่ทำได้ง่าย อย่ากระนั้นจึงปลงผม และหนวด นุ่งห่มผ้ากาสายะ ออกบวชเป็นบรรพชิตเกิด อุบาสกนั้น เป็นผู้มีปัญญาได้สั่งสมบารมีมาเต็ม พร้อมบริบูรณ์ เมื่อฟังโอวาทนั้นนำไปพินิจพิจารณา ภิกษุจึงไม่ต้องกังวลเรื่องการทำมาหากินแบบ อยู่เนืองๆ จนโอวาทนั้นกึกก้องย้ำเตือนอยู่ในใจ ฆราวาส ทำให้สามารถทุ่มเทเวลาและชีวิตจิตใจ ตลอดเวลา ทำให้ท่านเห็นโทษภัยในการครองเรือน เพื่อการศึกษา และปฏิบัติตามพระธรรมวินัยได้ อย่างเต็มที่ อีกทั้งยังเป็นการเอื้ออำนวยให้ พระภิกษุห่างไกลจากกามคุณอีกด้วย ซึ่งจะยังผล เห็นอานิสงส์ในการออกบวช วันหนึ่งท่านเข้าไปหาพระเถระ เมื่อแสดง ความเคารพแล้ว ท่านได้เล่าเรื่องความตั้งใจที่จะ ให้การประพฤติพรหมจรรย์นั้นบริสุทธิ์บริบูรณ์ บวชให้พระเถระฟัง เมื่อพระเถระเห็นความตั้งใจ ยิ่งขึ้น กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือชีวิตนักบวชมีโอกาส สร้างบุญกุศลทั้งปวงได้สะดวกกว่าชีวิตฆราวาส ดังเรื่องของพระโสณกุฏิกัณณเถระ ครั้งหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ในสมัยนั้นพระมหากัจจายนะ พักอยู่ที่ปวัฏฏบรรพต มีอุบาสกชื่อว่า โสณกุฏิ กัณณะ เป็นโยมอุปัฏฐาก พระเถระจะให้โอวาท ในการบวชของลูกศิษย์ และเพื่อเป็นการตอกย้ำ มโนปณิธานอันแน่วแน่ของศิษย์ จึงกล่าวว่า “ดูก่อนโสณะ พรหมจรรย์มีภัตรหนเดียว ต้องนอน ผู้เดียวตลอดชีวิต เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก ท่านเป็น คฤหัสถ์อยู่ในเรือน จงหมั่นประกอบพรหมจรรย์ อันมีภัตรหนเดียว นอนผู้เดียว ซึ่งเป็นค่าสอน ของพระพุทธเจ้าทั้งหลายเถิด” แม้พระอาจารย์ *** ๕๔ จะทักเช่นนี้ แต่ด้วยมโนปณิธานอันแน่วแน่ที่จะ พระโสณะชื่นชมยินดีภาษิตของพระ บวชให้ได้ ท่านเพียรเข้าไปขออนุญาตพระเถระถึง อุปัชฌาย์แล้ว ก็ลุกจากอาสนะ อภิวาทกระทำ ต ครั้ง พระเถระเห็นว่าอุบาสกมีอินทรีย์แก่รอบ มี อุปนิสัยที่จะบรรลุพระอรหัต จึงอนุญาตให้บวช แต่กว่าอุบาสกจะได้บวชนั้น ต้องใช้เวลานานถึง ๓ ปี เนื่องจากชายแดนสมัยนั้นหาพระให้ครบ ๒๐ รูปยาก เมื่ออุปสมบทไม่นาน ท่านได้บรรลุธรรม ประทักษิณพระอุปัชฌาย์ เก็บอาสนะแล้วถือ บาตรและจีวร ออกเดินทางไปยังกรุงสาวัตถี เมื่อ เดินทางถึงเมืองแล้ว ได้ไปเข้าเฝ้าพระผู้มีพระ ภาคเจ้า ณ พระวิหารเชตวัน หลังจากพระพุทธ องค์ตรัสถามความเป็นอยู่ การเดินทางของพระ โสณะแล้ว ได้ตรัสสั่งให้พระอานนท์จัดที่พักใน เป็นพระอรหันต์ นามว่า โสณกุฏิกัณณะ ตลอด พระคันธกุฎีหลังเดียวกับพระองค์ให้กับพระโสณะ ระยะเวลาที่พระเถระอยู่กับพระอุปัชฌาย์ก็ได้ยิน คืนนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประทับนั่งในกลาง แต่กิตติศัพท์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แต่ยังไม่ แจ้งตลอดราตรี แล้วทรงล้างพระบาทเสด็จ เคยได้เข้าเฝ้าพระพุทธองค์ วันหนึ่งท่านเข้าไป เข้าไปสู่พระวิหาร แม้พระโสณะก็ปฏิบัติตามพระ กราบขออนุญาตพระอุปัชฌาย์ เพื่อจะไปเข้าเฝ้า ผู้มีพระภาคเจ้าเช่นกัน พระพุทธเจ้า พระมหากัจจายนะกล่าวว่า “ดีละๆ โสณะ ท่านจงไปเฝ้าพระองค์เถิด ท่านจักได้ ทัสสนานุตตริยะ พระองค์เป็นผู้น่าเลื่อมใส มี อินทรีย์สงบ มีพระทัยสงบ ถึงพร้อมด้วยวิชชา และจรณะ เป็นพระมุนีประเสริฐ ท่านจงถวาย บังคมพระบาทด้วยเศียรเกล้าตามคำของเรา จึง ทูลถามถึงความเป็นผู้มีอาพาธน้อย พระโรค เบาบาง ทรงกระปรี้กระเปร่า ทรงมีพระกำลัง ทรงอยู่สำราญเถิด” ครั้นเวลาใกล้รุ่ง ทรงรับสั่งกับพระโสณะว่า “ดูก่อนภิกษุ เธอจงกล่าวธรรมให้แจ่มแจ้งเกิด” พระโสณะทูลรับแล้ว ได้กล่าวพระสูตรทั้งหมด ๑๖ สูตร จัดเป็น ๔ วรรค ด้วยสรภัญญะ เมื่อพระ เถระกล่าวจบ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง อนุโมทนาว่า “ดีละๆ ภิกษุ เธอเรียนดีแล้ว กระทำไว้ในใจดีแล้ว ทรงจำไว้ดีแล้ว เธอเป็นผู้ ประกอบด้วยวาจาไพเราะ ไม่มีโทษ สามารถทำ เนื้อความให้แจ่มแจ้ง ดูก่อนภิกษุ เธอมีพรรษา ...ดูก่อนโสณะ พรหมจรรย์มี ภัตรหนเดียว ต้องนอนผู้เดียว ตลอดชีวิต เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก านเ ต อ รัตน จงหมั่นประกอบ พรหมจรรย์ อันมีภัตรหนเดียว...
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More