ความหมายของอวิชชาปจเจกและพระธรรมกาย  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2562 หน้า 46
หน้าที่ 46 / 63

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงการค้นคว้าความหมายของ 'อวิชชาปจเจก' และการวิเคราะห์ 'ความเป็นพระแท้' โดยย้ำว่าความเป็นพระแท้ไม่อยู่ที่ภายนอกเพียงอย่างเดียว แต่ยังต้องเข้าถึง "พระธรรมกาย" ภายในตนเอง พระเดชพระคุณหลวงปู่ได้แสดงพระธรรมในเรื่องความนอบน้อมต่อพระรัตนตรัย ซึ่งมีความสัมพันธ์และเนื้อหาที่เชื่อมโยงกันระหว่างพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ท่านแสดงให้เห็นว่าการเข้าถึงพระรัตนตรัยจะต้องข้ามผ่านกาย วาจา ใจที่ละเอียด เพื่อให้ถึงความบริสุทธิ์ พร้อมทั้งสอนถึงความเลื่อมใสในพระสงฆ์ ว่ามีความสำคัญต่อความเข้าใจในพระพุทธศาสนาและการดำเนินชีวิตของศาสนิกชนรุ่นหลัง

หัวข้อประเด็น

- ความหมายของอวิชชาปจเจก
- พระธรรมกาย
- ความเป็นพระแท้
- พระรัตนตรัย
- การเข้าถึงพระธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อย่างยิ่งที่จะหา “คำตอบ” โดยสิ่งที่ท่านมุ่งหวังจะค้นคว้าให้พบมันก็เริ่มมาจากคำถาม ที่คล้ายคลึงอย่างยิ่ง เพราะท่านต้องการจะทราบให้ได้ว่าอะไรคือความหมายของ “อวิชชาปจเจก” ซึ่งเป็นคำถามที่ไม่มีใครเคยถามกันมาก่อนเลย ไมว่าจะสืบค้นจากตำราหรือเอกสารใด ๆ นอกจากนิดตลอดหลายสิบปีของการดำรงอยู่ในสมณเพศของท่าน ไม่มีใครคาดคั้นถึงจริงในความเป็นพระแท้ของท่านเลยไม่ว่าจะค้นลึกลงไปถึงชั่วโมงเวลาใด มิติเวา เราในฐานะที่เป็นพุทธศาสนิกชนรุ่นหลัง ดิฉันยอมรับกันโดยหน้าตาว่า พระเดชพระคุณหลวงปู่ พระผู้ปราบมาร คือ พระแท้ที่สำคัญของสังคมไทย แต่ย่างไรก็ ตาม ในสายตาของท่านเองนั้น กลับเห็นว่าสิ่งที่สามารถใช้วิเคราะห์ “ความเป็นพระแท้” ได้อย่างสมบูรณ์นี้มิได้มาจากจริงหรือความประพฤติภายนอกแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่พระแท้นัน้ ต้องหมายถึง การที่ผูบรวจะต้องเข้าสึง “พระธรรมกาย” ที่ดั่งอยู่ภายในตนด้วย ดังที่พระเดชพระคุณท่านได้กล่าวพระธรรมเทวาในโอกาศต่าง ๆ หลาย ๆ คราวด้วยกันดังนี้ วันที่ ๖ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๓๙ ท่านได้กล่าวแสดงพระธรรมเทคนาเรื่อง “รอตนุตตคมนปนมาคา” (ความนอบน้อมต่อพระรัตนตรัย) โดยได้กล่าวถึงคุณสมบัติอันสมบูรณ์ซึ่งของพระรัตนตรัยว่า ความเป็นบริสุทธิ์ของพระพุทธเจ้า ก็ดี พระธรรมเจ้า ก็ดี พระสงฆ์เจ้า ก็ดี เป็นสิ่งต่อเนื่องสัมพันธ์กัน การถึงซึ่งพระรัตนตรัยที่แท้นั้น “จะต้องเอากายวาจาใจของเราที่ละเอียด จดเข้าไปถึงกัยณของพระรัตนตรัยจริง ๆ รัตนตรัยซึ้งเปล่าว่าแก้ว ๆ...แก้วคือพระพุทธ ฯ แก้วคือพระธรรม ฯ แก้วคือพระสงฆ์ ฯ ดั่งในบท (พระบาลว่า) สุภฏฑา พุทธานุสรณ์ กระทำทนให้เป็นแก้ว คือ พุทธ... สุกกุฏวา มณฑปรณี กระทำทนให้เป็นแก้ว คือ สง ฯ... หมวด ๓ ของรัตนนี้ คือ พุทธ ธัมโม สังโฆ หรือ พุทธธนะ ธรรมธนะ สังมธนะ แม้ต่างกันโดยวัสดุแต่เนื้อความอันเดียวกัน เป็นของเนื่องซึ่งกันและกัน พระพุทธเจ้าเป็นผู้ตรัสพระธรรม พระสงฆ์ทรงไว้ พระสงฆ์เป็นสากของพระพุทธเจ้า เนื่องเป็นอันเดียวกัน...” “...มูม ปภาโท ยสุฏฺฐิติ ความเลื่อมใสในพระสงฆ์ย่อมเป็นบุคคลใด ข้อนิยามว่าจักว่า พระโค ถึงพระพุทธเจ้า ข้อ ๒ นี้เป็นศาสใบ ข้อ ๓ นี้เป็นพระสงห์ ความเลื่อมใสในพระสงฆ์นี้ความเลื่อมใสในพระสงฆ์นี้เลื่อมใสเองอย่างไร พระสงฆ์นี้ท่านประพฤติท่านเป็นก็... สามเณรประพฤติคิดจะเป็นอยพระศาสนาได้เหมือนกัน...ภิญญา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More