ความเป็นอิสระในพระพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือนธันวาคม พ.ศ.2549 หน้า 86
หน้าที่ 86 / 88

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงความปรารถนาของมนุษย์ในการหาความเป็นอิสระจากความอึดอัดในชีวิต โดยอธิบายว่าความเป็นอิสระที่แท้จริงเกิดจากการหลุดพ้นจากอำนาจกิเลสผ่านการศึกษาพระพุทธศาสนาและฝึกสมาธิ เพื่อเข้าถึงความบริสุทธิ์ของใจ การอยู่ในพระพุทธศาสนาช่วยให้สามารถปรับตัวเข้ากับข้อบังคับได้อย่างมีความสุข และมองเห็นความสำคัญของการสร้างบุญบารมีในชีวิตประจำวัน ดังนั้นการปฏิบัติธรรมและการเข้าถึงอิสระภายในจะนำพาไปสู่ชีวิตที่เต็มเปี่ยมด้วยความสงบสุข นำไปสู่การเข้าใจในปรัชญาแห่งพระพุทธศาสนาที่ช่วยเสริมสร้างคุณธรรมในสังคมได้อย่างยั่งยืน

หัวข้อประเด็น

-ความรู้ในธรรมะ
-การปลูกฝังคุณธรรม
-การอิสระจากกิเลส
-การเข้าถึงสมาธิ
-การสร้างบุญบารมี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อยู่ใน um ที่ปรึกษา พระมหาสมบุญ สมมาปุญโญ พระมหา ดร.สมชาย ฐานวุฑโฒ พระอารักษ์ ญาณารกุโข พระสมุห์อำนวยศักดิ์ มุนิสกโก บรรณาธิการบริหาร พระสมบัติ รกฺขิตจิตโต กองบรรณาธิการ พระดร.สมศักดิ์ จนฺทสีโล, พระวิชิต ผาสุกวาโส, พระตรีเทพ ชินจุกุโร, พระสนิทวงศ์ วุฑฒิวิโส, พระกล้าณรงค์ ญาณวีโร, พระธีระ นาถธมฺโม, พระมหาจตุรงค์ จตฺตมโล, พระสรพงษ์ สุทธสุทโธ, พระมหาเอก จนฺทูปโม, พระสมบูรณ์ จิตฺตทนฺโต พระธนรินทร์ สิริธโร, พระวีรพงษ์ สังขวิโส, พระคมกฤธิ์ คุตฺตวํโส, พระทรงวุฒิ ชยวุฑโฒ, ผศ.สุชีพ พะหูชนม์, ผศ.สุภาศิริ พะหูชนม์, วรวรรณ ถนอมพงษ์, วันชัย ภัทรโกมล, วินิช พันธุ์วิริยรัตน์, อุษา จันตะกา, กนกพร เทศนา, สุธิดา จินดากิจนุกูล, รัดเกล้า ลิ่วเฉลิมวงศ์, น้ำผึ้ง พุ่มมาลี, ระพีพรรณ ใจภักดี, พรพรหม ทิพยมนตรี บริบูรณ์ โนรีเวช, วริศรา เพชรวิภูษิต บรรณาธิการสารสนเทศ เปรมจิต จงเจียมใจ, รุ่งนภา วรรณุปถัมภ์ ฝ่ายภาพ ศูนย์ภาพนิ่ง ฝ่ายศิลปกรรม ลือพงศ์ ลีลพนัง, กองพุทธศิลป์ วัลลภ นิลถนอม, ชัยชนะ กิตติโสภาพันธุ์ ภัทรา ศรีวสุธา, ปัณณภัสร์ ใต้ธงชัย, ศุภวิชฐ์ เหล่าเลิศพงษ์, ชนกมณฐ์ รักษาเกียรติ พีระ แสงงาม, ชูเดช อนุรักษ์ ฝ่ายโฆษณา ปราณี ชัยผดุง ๐-๖๗๗๑-๒๒๖๘ ฝ่ายสมาชิก อรุณี พลกลาง ๐-๑๓๐๖-๕๓๙๓ ผ่องศรี ทานาแซง ๐-๖๙๘๐-๐๙๗๒ โรงพิมพ์ บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จำกัด วารสาร “อยู่ในบุญ” เป็นวารสารเพื่อการเผยแผ่ธรรมะ ในพระพุทธศาสนาเป็นรายเดือน มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ ๑.เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน ธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเกิดกำลังใจในการปฏิบัติธรรม เพื่อเข้า ถึงธรรมะภายใน ๒.เพื่อปลูกฝังคุณธรรมแก่ประชาชนทุก เพศ ทุกวัย ทุกอาชีพและทุกระดับการศึกษา ต.เพื่อถ่ายทอดความรู้ในพระพุทธ- ศาสนา ให้ง่ายแก่การนำไปใช้ให้เป็น ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน ๔.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คนใน สังคมเป็นคนดีที่โลกต้องการ ๕.เพื่อเป็นสื่อกลางในการสืบทอดอายุ พระพุทธศาสนาให้เป็นที่พึ่งแก่ชาวโลกสืบไป ทำอย่างไร.. ถึงจะพบความเป็นอิสระ ท่ามกลางความสับสนวุ่นวาย มนุษย์ล้วนมีความปรารถนาลึกๆ คือ ต้องการความเป็นอิสระ เพราะบางครั้ง เราจะรู้สึกอึดอัดเมื่อ ต้องอยู่ในกฎระเบียบหรือข้อบังคับขององค์กร หมู่คณะ ที่ทำงาน หรืออยู่ในกรอบชีวิตที่วนๆ ในงานเฉพาะหน้าที่ต้องรีบทำให้เสร็จ จึง ทำให้หลายคนหาทางออกโดยการละทิ้งหน้าที่ ฝืนกฎระเบียบ ปฏิเสธการอยู่ในกรอบ หรือเลือกที่จะทำในสิ่งที่แตกต่างจากหมู่คณะ แล้วรู้สึกพึงพอใจ แต่ไม่ว่ามนุษย์จะหาวิธีหลีกหนี หรือปฏิเสธสิ่งเหล่านี้ด้วย วิธีการใดก็ตาม เขาก็จะหลุดจากกรอบวังวนของชีวิตหนึ่ง เข้าสู่กรอบ วังวนของชีวิตอีกกรอบหนึ่ง และไม่นานก็จะรู้สึกว่าตนเองวกเข้าสู่ ความอึดอัด วนไปวนมาอย่างไม่รู้จบ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้มนุษย์ได้แต่ ไขว่คว้าหาความเป็นอิสระ แต่ก็ยังคงหาไม่พบอยู่ร่ำไป..... แต่หากมาศึกษาพระพุทธศาสนาแล้ว จะทำให้เรารู้ว่า ความอิสระ ที่แท้จริง คือ ความอิสระจากการถูกบังคับบัญชาจากอำนาจกิเลส ความโลภ ความโกรธ ความหลง เพราะยิ่งอิสระเท่าไร ก็ยิ่งบริสุทธิ์ มีความเป็นตัวของตัวเองได้มากขึ้นเท่านั้น ความเป็นอิสระจะเกิดขึ้น กับเราทันที แม้ต้องอยู่ภายใต้ข้อบังคับ หรือวังวนแห่งชีวิต เพราะใจ ที่หมดกิเลส จะหลุดออกจากความอึดอัดคับแคบ หลุดออกจากความเซ็ง เครียด เบื่อ กลุ่ม ความไม่ได้ดังใจ ความกระสับกระส่ายทุรนทุราย แต่จะเปี่ยมล้นไปด้วยพลังแห่งความบริสุทธิ์ อยู่ในกายที่สงบนิ่ง สิ่งที่ ไม่เป็นสาระแก่นสารจะผูกพันอะไรเราไม่ได้ แม้ร่างกายที่เรารักที่สุด เราก็จะไม่รู้สึกผูกพันจนเป็นทุกข์ เพราะเราจะคิดได้เองว่า ร่างกาย ทำหน้าที่เป็นเพียงที่อาศัยชั่วคราวสำหรับสร้างบุญบารมี เป็นที่ตั้ง ของใจที่จะเดินทางเข้าสู่พระรัตนตรัยภายใน ซึ่งวิธีที่เราจะพบอิสระเช่นนี้ได้ มีอยู่วิธีเดียว คือ ฝึกสมาธิให้ เข้าถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้นโดยการวางใจให้หยุดนิ่งไว้ที่ศูนย์กลางกาย ฐานที่ ๗ นั่นเอง......
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More