วารสารอยู่ในบุญ วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2550 หน้า 82
หน้าที่ 82 / 84

สรุปเนื้อหา

วารสาร "อยู่ในบุญ" มุ่งเผยแผ่ธรรมะ พระพุทธศาสนา เพื่อสร้างความรู้และคุณธรรมในสังคม โดยเน้นการปฏิบัติธรรมเพื่อให้บุคคลเข้าถึงพระธรรมกายภายใน หากเราสามารถหาช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการศึกษาและปฏิบัติธรรม เราจะได้เห็นการเปลี่ยนแปลงในชีวิตอย่างเห็นได้ชัด โดยมองว่าการเข้าถึงพระธรรมกายนั้นเป็นสิ่งที่เป็นไปได้และส่งเสริมให้ทุกคนให้โอกาสกับตัวเองในการสร้างสรรค์ชีวิตที่ดีขึ้น

หัวข้อประเด็น

-การเผยแผ่ธรรมะ
-คุณธรรมในสังคม
-การปฏิบัติธรรม
-พระธรรมกายในชีวิต
-วารสารอยู่ในบุญ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

outrum ที่ปรึกษา พระมหาสมบุญ สมมาปุญโญ พระมหา ดร.สมชาย ฐานวุฑโฒ พระอารักษ์ ญาณารกโข พระสมุห์อำนวยศักดิ์ มุนิสกฺโก บรรณาธิการบริหาร พระสมบัติ รกฺขิตจิตโต กองบรรณาธิการ พระดร.สมศักดิ์ จนฺทสีโล, พระวิชิต ผาสุกวาโส, พระตรีเทพ ชินงุกุโร, พระสนิทวงศ์ วุฑฒิวิโส, พระกล้าณรงค์ ญาณวีโร, พระธีระ นาถธมฺโม, พระมหาจตุรงค์ จตฺตมโล, พระมหาเอก จนฺทูปโม พระธนรินทร์ สิริธโร, พระวีรพงษ์ สงฺขวํโส, พระคมกฤธิ์ คุตฺตวํโส, พระทรงวุฒิ ชยวุฑโฒ, ผศ.สุชีพ พะหูชนม์, ผศ.สุภาศิริ พะหูชนม์, วรวรรณ ถนอมพงษ์, วันชัย ภัทรโกมล, วินิช พันธุ์วิริยรัตน์, อุษา จันผะกา กนกพร เทศนา, สุธิดา จินดากิจนุกูล, รัดเกล้า ลิ่วเฉลิมวงศ์, น้ำผึ้ง พุ่มมาลี, ระพีพรรณ ใจภักดี, บริบูรณ์ โนรีเวช, วริศรา เพชรวิภูษิต, รักชนก ชนะพล บรรณาธิการสารสนเทศ เปรมจิต จงเจียมใจ, ภัทรพร ศิลปาจารย์, รุ่งนภา วรรณุปถัมภ์, อภิรดี ตันติวาณิชยสุข ฝ่ายภาพ ศูนย์ภาพนิ่ง ฝ่ายศิลปกรรม อพงศ์ ลีลพนัง, กองพุทธศิลป์ วัลลภ นิลถนอม, ชัยชนะ กิตติโสภาพันธุ์ ภัทรา ศรีวสุธา, ปัณณภัสร์ ใต้ธงชัย, ศุภวิชฐ์ เหล่าเลิศพงษ์, ชนกมณฐ์ รักษาเกียรติ พระ แสงงาม, ชูเดช อนุรักษ์, สุลัดดา เมธีวรางกูร ฝ่ายโฆษณา ปราณี ชัยผดุง ๐๘-๖๗๗๑-๒๒๖๘ ฝ่ายสมาชิก อรุณี พลกลาง ๐๘-๑๓๐๖-๕๓๙๓ ผ่องศรี ทานาแซง ๐๘-๖๙๘๐-๐๙๗๒ โรงพิมพ์ บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จำกัด วารสาร “อยู่ในบุญ” เป็นวารสารเพื่อการเผยแผ่ธรรมะ ในพระพุทธศาสนาเป็นรายเดือน มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ ๑.เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน ธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเกิดกำลังใจในการปฏิบัติธรรม เพื่อเข้า ถึงธรรมะภายใน ๒.เพื่อปลูกฝังคุณธรรมแก่ประชาชนทุก เพศ ทุกวัย ทุกอาชีพและทุกระดับการศึกษา ๓.เพื่อถ่ายทอดความรู้ในพระพุทธ ศาสนา ให้ง่ายแก่การนำไปใช้ให้เป็น ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ๔.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คนใน สังคมเป็นคนดีที่โลกต้องการ ๕.เพื่อเป็นสื่อกลางในการสืบทอดอายุ พระพุทธศาสนาให้เป็นที่พึ่งแก่ชาวโลกสืบไป หา....ช่วงชีวิตที่ดีที่สุดให้กับตัวเอง ขณะที่เวลากำลังผ่านไป ความแก่ ความร่วงโรยของร่างกาย ก็เพิ่มขึ้นทุกอนุวินาที แต่ความกังวลใจในเรื่องการหาเลี้ยงชีพ เรื่องส่วนตัว เรื่องครอบครัว ก็มิได้ลดน้อยถอยลงไปเลย จนหลายคนพูดว่า ไม่มี เวลาสำหรับตัวเองอย่างแท้จริงเลย แม้กระทั่งเวลาสำหรับการไปวัด ปฏิบัติธรรม จนแล้วจนเล่า แม้ชั่วชีวิตของเขาก็มิอาจตอบตัวเองหรือ รู้ได้ว่า ช่วงชีวิตที่ดีที่สุดของตัวเองคือช่วงใด...? ช่วงเวลาที่ดีที่สุดสำหรับชีวิต คือ ช่วงจังหวะชีวิตที่มีโอกาสมา ตักตวงความบริสุทธิ์ให้กับตัวเอง มีโอกาสได้ศึกษาฝึกฝนอบรม ตัวเองเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายภายใน ซึ่งอาจทำได้โดยการหา เวลาปฏิบัติธรรมอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย สัปดาห์ การมาบวชสัก ช่วงหนึ่งของชีวิต เพราะการทำเช่นนี้เท่ากับเป็นการเปิดโอกาสให้ ๑ ตัวเองเข้าถึงพระธรรมกายภายในได้อย่างง่ายๆ ได้มีเวลาทบทวน หลายสิ่งหลายอย่างในชีวิตที่ผ่านมา เพื่อปรับปรุงแก้ไขตัวเองให้ดีขึ้น เพราะลองคิดดูเถิดว่า หากเราเข้าถึงพระธรรมกายจริงๆ อะไรจะเกิดขึ้น เราจะกลายเป็นคนใหม่ในร่างเดิมทันที จะมีการเปลี่ยนแปลงในชีวิต ในทางที่ดีขึ้นอย่างยิ่งยวด จงอย่าคิดว่า “การเข้าถึงพระธรรมกาย คงเป็นไปไม่ได้สำหรับเรา” โดยที่เรายังไม่ได้พยายามจนถึงที่สุดเลย เพียงแต่ให้เรามอบโอกาสตัวเองโดยการเป็นคนจริงดังที่หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญกล่าวไว้ว่า “เราเป็นมนุษย์คนหนึ่ง ทำกับเขาไม่ได้เชียวหรือ? ทำไมจะไม่ได้ ทำจริงเข้า ทำไม่จริงต่างหากล่ะ มันไม่ได้ จริงละก็ได้ ทุกคน จริงแค่ไหน? แค่ชีวิต..." ดังนั้น จงให้โอกาสกับตัวเอง โดยการหาช่วงเวลาที่ดีที่สุด โดยการไปปฏิบัติธรรม เพื่อให้เข้าถึงความสุขที่แท้จริงของชีวิต สมกับ ที่ได้เกิดมา... -
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More