ข้อความต้นฉบับในหน้า
....ภายในพรรษานี้เราต้องทำทาน รักษาศีล เจริญภาวนา
เพื่อให้กาย วาจา ใจ เราสะอาดบริสุทธิ์ หมั่นสั่งสมบุญ
ทุกบุญไม่ให้ตกบุญเลย....
มา ทำให้เราไม่รู้ เอากฎแห่งกรรมมาบังคับ เอาโลภ
โกรธ หลง มาบังคับ ทำให้เราเวียนว่ายตายเกิด
จำพรรษาได้ โดยกำหนดขอบเขตอยู่ในกายยาววา ค้นหาต้นตอแหล่งกำเนิดแห่งอวิชชา ที่ส่งอวิชชา
หนาคืบ กว้างศอก ที่ศูนย์กลางกายซึ่งมีพระรัตนตรัย
ประดิษฐานอยู่ เหมือนวัดมีพุทธปฏิมากร
เมื่อเรามีพระอยู่ในตัวเราก็ทำสมาธิไปพร้อมๆ
กับพระในตัวทั้ง ๔ อริยาบถ คือ นั่ง นอน ยืน เดิน
ตลอดพรรษา คือ ข้างนอกเคลื่อนไหวไปกับภารกิจ
อยู่ในวัฏสงสาร เราจะไปซื้อตรงนั้น
ต้องสั่งสมบุญบารมีกันให้มากๆ อย่าให้
พรรษานี้ผ่านไปเปล่าๆ แล้วจะติวเข้มกันทุกวันอาทิตย์
ทางโลก ที่เป็นไปเพื่อการสร้างบารมี แต่ภายใน จะสอบถามประสบการณ์ว่านั่งกันเป็นอย่างไรบ้าง
หยุดนิ่งและภายในพรรษานี้เราจะไม่ไปเที่ยวเตร่ สนุก
เฮฮาที่ไหน ให้เที่ยวทำกรรมฐาน ทำสมาธิภาวนา
ภายในพรรษานี้เราต้องทำทาน รักษาศีล
เจริญภาวนา เพื่อให้กาย วาจา ใจ เราสะอาด บริสุทธิ์
หมั่นสั่งสมบุญทุกบุญไม่ให้ตกบุญเลย
วัดข้างบ้านมีอยู่ ก็ควรจะไปเข้าวัด ฟังธรรม
ปฏิบัติธรรม บำเพ็ญบุญ โดยที่ใจของเราก็ยังอยู่ที่
ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ ดังนั้นไม่ว่านักเรียนอนุบาล
เพื่อที่จะรีบต้อนให้พวกเราไปยึดศูนย์กลางกายฐานที่
กันให้ได้ เพราะฉะนั้นพรรษานี้คือ “พรรษา
แห่งการบรรลุธรรม
นั่นคือโอวาทของคุณครูไม่ใหญ่ ว่าก็ว่า
ท่านอยากให้พวกเราฝันในฝันเป็น จะได้รู้เรื่องราว
ความเป็นจริงของชีวิตว่า เรามาจากไหน เกิดมาทำไม
อะไรคือเป้าหมายของชีวิต จะได้หมดสงสัยด้วยตัวเอง
ถึงตอนนั้นจะไม่ขยักขย่อนการสร้างบารมี จะขยับ
ฝันในฝันวิทยาจะอยู่ส่วนไหนทุกภูมิภาคทั่วโลก การสร้างบารมีไปเรื่อยๆ แล้วเราก็จะอัศจรรย์ใจใน
“ต้องจำพรรษา” เพราะเราเกิดมาสร้างบารมี
เมื่อพุทธบุตรท่านจำพรรษา เราจะให้ท่านบารมี
แก่กล้าตามลำพังได้อย่างไร เราก็ต้องทำด้วย
เพราะพุทธบริษัทมี ๔ ไม่ใช่มีเฉพาะพุทธบุตร
...พวกเราจะไม่น้อยหน้า ไม่ล้ำหน้า แต่เรา
จะไปพร้อมหน้ากัน เพราะเป้าหมายของเรา คือ
ที่สุดแห่งธรรม ซึ่งเป็นจุดสุดท้าย ที่กิเลสอาสวะ
ทั้งหลายหมดสิ้นไป นี่คือภารกิจของเราที่ต้อง
อานุภาพของวิชชาธรรมกาย ดังเจ้าของ case study
ที่อัศจรรย์ ซึ่ง รู้ได้อย่างไร ใช่เลย ในเรื่องราวของ
ฝันในฝันจากคุณครูไม่ใหญ่ ซึ่งรายการชีวิต
ในสังสารวัฏเชิญมาสัมภาษณ์ก้าวเข้าสู่ปีที่
๔. แล้ว
ลองติดตามอ่านกันนะครับ เริ่มจาก case study
ของหัวหน้าชั้น (๕ ขุนทหาร) ซึ่งฉบับที่แล้วได้
ลงเรื่องราวให้ศึกษากัน