พระราชนิพนธ์ 'พระมหาชนก' พระราชนิพนธ์ พระมหาชนก พระอัจฉริยภาพพระมหากษัตริย์ไทย หน้า 22
หน้าที่ 22 / 39

สรุปเนื้อหา

พระราชนิพนธ์ 'พระมหาชนก' เน้นความสำคัญของตำแหน่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ว่าเป็นสิ่งที่เป็นของกลาง ไม่มีใครเป็นเจ้าของโดยเฉพาะ สะท้อนให้เห็นถึงการไม่เป็นเจ้าของของโลกและชีวิตที่เกิดจากการรวมกันของธาตุต่าง ๆ ต่อมากล่าวถึงการที่ทุกชีวิตร่วมสร้างบุญบารมีเป็นสิ่งที่มีค่าในสังคม น้ำหนักในบทเรียนที่สอนให้เข้าใจถึงความสำคัญของตำแหน่งแห่งคุณในชีวิตและการทำดีเพื่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกี่ยวข้องกับการเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ.

หัวข้อประเด็น

- พระราชนิพนธ์
- พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
- ความจริงของชีวิต
- ของกลาง
- การสร้างบุญบารมี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระราชนิพนธ์ "พระมหาชนก" "ความจริงอันประเสริฐของโลกและชีวิต" ว่า ตำแหน่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นของกลาง ไม่ใช่ตำแหน่งผู ขาดเพราะโลกนี้มะหยี่ไม่ได้เป็นผู้สร้าง เทวดา ก็ไม่ได้เป็นผู้สร้าง สรรพสัตว์น้อยใหญ่ในโลกนี้ไม่ได้เป็นผู้สร้าง โลกนี้จึงไม่เป็นของใครคนใดคนหนึ่ง ไม่ได้เป็นของตระกูลใดตระกูลหนึ่ง แต่เป็นสาธารณะกันทุกๆ ชีวิต โลกเกิดขึ้นมาได้ด้วยการรวมตัวของธาตุต่างๆ อย่างเหมาะสม คือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุ ลม ธาตุไฟ ธาตุอากาศ ซึ่งเป็นธาตุหลัก รวมตัวกันอย่างเหมาะสมแล้ว กลายเป็นโลกให้สิ่งมีชีวิตได้อยู่อย่าง เพราะเหตุว่าว่า โลกเป็นของกลาง คนสัตว์ก็เป็นของกลาง เพราะฉะนั้น เมื่ที่สุดตำแน่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นตำแหน่งของผู้นำสัตว์โลกในการสร้างบุญสร้างบารมี ก็เป็นตำแหน่งของกลาง อุปมาเหมือนกับตำแหน่งประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี แต่ที่สุด ตำแหน่งก็นั้น ผู้ใหญบ้าน ก็เป็นของกลางของประชาชนในเขตนั้น ตำแหน่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นของกลางสำหรับ สัตว์โลกผู้มีปัญญา ผู้มีความเพียร และเป็นผู้ม มาก ธรรม,
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More