ธรรมะเพื่อประชาชน: คิดผิด คิดใหม่ได้ (๓) Dhamma TIME เดือนเมษายน พ.ศ. 2556 หน้า 18
หน้าที่ 18 / 40

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงความสำคัญของความพยายามและจิตใจที่เข้มแข็งในการประสบความสำเร็จในชีวิต โดยมีการเน้นการนำใจหยุดนิ่งที่ศูนย์กลางกายฐานที่ 7 ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของความสำเร็จ นอกจากนี้พระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังได้ตรัสถึงหลักการที่ช่วยให้บรรลุเป้าหมายต่างๆ ผ่านการฟังธรรม การสนทนา และการส่งเสริมความคิดให้ถูกต้องและเหมาะสม ความคิดที่ดีและการเข้าหาผู้รู้จะนำไปสู่การพัฒนาสติปัญญาและการหมดความสงสัยในชีวิต dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-ความพยายาม
-ความสำเร็จ
-หลักธรรม
-ศูนย์กลางกาย
-การสนทนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมะเพื่อประชาชน คิดผิด คิดใหม่ได้ (๓) มีคำกล่าวที่เราคุ้นเคยกันดีว่า ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น เป็นคำสำหรับย้ำเตือนพวกเราทุกคน ให้มีกำลังใจในการทำหน้าที่การงาน และให้ประสบผลสำเร็จในสิ่งที่พึงปรารถนา การจะให้บรรลุผลสำเร็จได้นั้น จะต้องมีหลายสิ่งหลายอย่างประกอบกัน นอกจากนี้จะต้องมีกำลังใจที่เข้มแข็ง และมีสิทธิ์ปัญญาแล้ว ยังจะต้องมีพลังบวกนำ เรียกว่าประสบความสำเร็จได้ ก็จะประสบความสำเร็จได้ ความพยายามที่ไม่มีวันสูญเปล่านั้น คือการประกอบความเพียร โดยนำใจมาหยุดนิ่งที่ศูนย์กลางกายฐานที่ 7 ซึ่งเป็นต้นแหล่งแห่งความสำเร็จ เราจะไม่พบกับคำว่าความผิดหวัง หากนำใจจดศูนย์จะไม่มีคำว่าความสูญเสีย เพราะฉะนั้น เราต้องพยายามนำใจให้หยุดนิ่งไว้ที่ศูนย์กลางกายตลอดเวลา จะได้พบแต่ความสมหวังสมปรารถนาในชีวิต พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสไว้ใน ฉกุญฺบาต คําคมตติยจาย ว่า "ตุลต โธ ม ภิกฺขู กาลา สมฺมาวจีมา สมุทนุโม ปีวดุตีมานา อนุปฟูเฟน อาสาวนา ขย ปาปตนฺ กตฺเตม ตุกฺตโร กาเลน ชมฺมุสภวัน กาเลน สมา กาเลน วิปฺสนา.อิเม โฉ ภิกฺขเว จตุจิตฺกายากา สมฺมาวจิ มา อนุปฟูเฟน อนุพุทฺเทน ขย ปาปนํติ" คู่่อนภิษัชทั้งหลาย กาล ๓ อย่างที่บุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึง ความสิ้นอาสวะโดยลำดับ กาล ๓ นี้เป็นไฉน คือ การฟังธรรมตามกาล ๑ การสนทนาตามกาล ๑ การส่งสมตามกาล ๑ การพิจารณาตามกาล ๔ อย่างนี้แล อุปบุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ การหาโอกาสเข้าไปนั่งใกล้ผู้เฒ่าผู้ดีสิ่งที่ดีเป็นวิถีของบัณฑิตนักปราชญ์ สิ่งใดที่เร่งรีบไม่อาจจะเพิ่มพูนความรู้และสติปัญญา สิ่งที่เคยสงสัยก็จะหายสงสัย เพราะการสนทนาตามกาลอันควร จงจิตของผู้ดูแลและผู้ฟังให้เป็นบุคคล มีจิตใจว่างเบิกบานผ่องใส ทั้งยังให้ฝึกไหวพริบปฏิภาณให้เกิดความแตกฉานทางปัญญายิ่งขึ้นไป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More