พุทธสุภาษิต: อายชั่วกลัวบาป Dhamma TIME เดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 หน้า 12
หน้าที่ 12 / 40

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายถึงความหมายของ 'อายชั่วกลัวบาป' ในพุทธศาสนา ซึ่งชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการมีสติและจริยธรรมในชีวิตประจำวัน โดยยกตัวอย่างกรณีต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม เพื่อแสดงให้เห็นถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นเมื่อขาดทิศทางเชิงคุณธรรม ข้อคิดนี้ยังชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นในการรักษาศีลธรรมเพื่อสร้างสังคมที่สงบสุข รวมถึงเห็นความเชื่อมโยงระหว่างธรรมะและการป้องกันความชั่ว ด้วยการฝึกอายและความกลัวบาป ดังนั้น ต้องมีการเฝ้าระวังการกระทำต่างๆที่จะเกิดขึ้นในสังคม

หัวข้อประเด็น

-อายชั่วกลัวบาป
-ผลกระทบต่อสังคม
-การรักษาศีลธรรม
-การป้องกันความชั่ว
-ความสำคัญของธรรมะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พุทธสุภาษิต เรื่อง..อายชั่วกลัวบาป สวรรค์รับบาปลา จากหนังสือ พุทธวจนิตสะแตยใจ เล่มที่ ๓ แต่พอขึ้นมา จะแน็งสักกัน ก่าวว่า จะสมสำนัก โดยไม่เลือกว่า จะเป็นพ่อแม่หรือลูกกัน หิ โอ้ตู้ปิยบุณฑู , โลภา ปาเสติ สาธุ "หิ โอ้ตับปะ ย่อมรักษาโลกไว้ให้เป็นอันดี" พุทธศาสนสุภาษิต หิ แปลว่า ความละอายแก้ใจ ในการที่จะทำความชั่ว โอตตัปปะ แปลว่า ความกลัวกลัวตอบบาป โดยคิดว่า เมื่อทำความชั่วแล้ว จะทำให้เกิดความเดือดร้อนเสียหาย เสียชื่อเสียงวงศ์- ตระกูลทั้งองอย่างนี้ เรียกสั้นๆว่า อายชั่วกลัวบาป กรรมะสังประกานี เรียกว่า ธรรมเป็นโลกบาล แปลว่า ธรรมสำหรับคุ้มครองโลก หมายความว่า เมื่อบุคคลใดอายความชั่ว เขาก็จะไม่ทำความชั่ว และบุคคลใดกลัวบาป เขาย่อมจะไม่ทำบาป เมื่อเป็นเช่นนี้ ชาวโลกลจะมีความเป็นอยู่เป็นปกติสุข ไม่ต้องวุ่นวาย ในปัจจุบันนี้ มักจะมีเรื่องแกล้งกันไม่เคยได้ยิน มาก่อนก็ได้ยิน เช่น พ่อข่มขืนลูกแท้ๆ ของตนบาง ลูกขี้ขโมยของตนบ้าง เป็นต้น ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้แต่โบราณมักอธิบายเป็นเรื่องจูงใจสูงสุด เรื่องอย่างนี้ ถ้าไม่มีสุภาษิต หรือบรรดาเป็นไปเกี่ยวคงเป็นไปไม่ได้แน่ เพราะสิ่งเสพติดทั้งหลาย จะทานสีย สัญชาตญาณเดิมของคน ให้เปลี่ยนแปลงไป เรื่องดังกล่าวข้างต้น เป็นธรรมาดงสัตว์ โลก ซึ่งหมายถึงมนุษย์และสัตว์วิจฉาน ย่อจจะเกิดขึ้นได้ เช่น แมว ตอนเล็กๆ ก็ยังเป็นแมวกันอยู่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More