การปฏิบัติธรรมและการพัฒนาจิตใจ Dhamma TIME เดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 หน้า 39
หน้าที่ 39 / 40

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้ สอนเกี่ยวกับหลักการ 4 ส. เพื่อพัฒนาจิตใจและสร้างความสงบ โดยการนำการปฏิบัติธรรมมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน อธิบายถึงความสำคัญของการมีสติและการต่อสู้กับความฟุ้งซ่านเพื่อค้นหาความสำเร็จในชีวิต นอกจากนี้ยังเน้นว่า การปฏิบัติธรรมไม่ใช่เรื่องยาก ทุกคนสามารถทำได้ หากมีความตั้งใจและความมุ่งมั่นในการทำตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ด้านการปฏิบัติที่ถูกต้องจะทำให้เราเห็นผลและเข้าใจคุณค่าของพระธรรมอย่างแท้จริง.

หัวข้อประเด็น

- หลักการ 4 ส.
- การพัฒนาจิตใจ
- การปฏิบัติธรรม
- ความสำคัญของสติ
- การต่อสู้กับความฟุ้งซ่าน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ทุกชาติเรารู้หลักวิชาแล้ว 4 ส. สติ สบาย สม่าเสมอ สงบเงียบ ให้มีสติ คือ เอาใจมาอยู่กับตัว ของเรา มาหยุดมานั่งภายในอย่างสบาย ๆ ให้ต่อ เนื่องทั้งวันทั้งคืน เหมือนเป็นผู้มาวิเศษเดียวทำทั้งวัน ทั้งคืนเลย แล้วสังเกตว่าหากถูกหลักวิชาไหม ตั้งใจมากเกินไปไหม อยากได้มากเกินไปไหม ระวัง หรือเกินกว่านี้ไหม หรือว่าเราไปต่อสู้กับความฟุ้งหรือเปล่า ให้สเกตเดี๋ยวเราจะพบเหตุแห่งความ บกพร่อง และช่องทางแห่งความสำเร็จ เดี๋ยวก็จะทำความสำเร็จได้ เมื่่อญาณโดยเขาทำได้ ลูก พระลูกเณรต้องทำได้ ซึ่งเป็นหน้าที่ของเราจะต้อง ทำให้ได้ด้วย ก็ทยอยไป นั่งปฏิบัติธรรมทำความเพียรให้ดี จะ ได้เห็นหน้าเห็นหลัง เห็นกลาง ๆ เลย เห็นดวงใส ๆ นะ ทำได้ทุกคน เพราะฉะนั้น 10 วันที่เหลือนี้เหลือเพื่อ ลุยกัน ไปอย่างเดียวเลยลุยขนาดไหน ขนาดที่เราปลื้มปิติ และภาคภูมิใจในตัวของเรา เมื่ออากิชชาไปแล้ว ยามใดที่เราลึกนิ่งถึงแล้วปลื้ม เล่าให้ลูกหลานใน หมู่ญาติหรือใครก็ตามในโลกฟัง แล้วเขามีกำลังใจ พอโยนปลิ้มกัน แล้วก็เห็นคุณค่าของ พระพุทธศาสนา อยากจะมาบรร จงจะมาศึกษาพระธรรมวินัยของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะฉะนั้นอย่าเผลนะ อย่าไปกลัวปวด กลัวเมื่อย ปวดเมื่อยก็เป็นกันทุกคน แต่พอเราไม่สน เดี๋ยวมัน 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 จากหนังสือบางอย่างที่แสดงหา โดย พระเทพญาณมหามุนี (ไชยบูลย์ ญาณสมฺโม)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More