การทำสมาธิด้วยดวงแก้ว คำไม่เล็ก ของคุณครูไม่ใหญ่ หน้า 252
หน้าที่ 252 / 260

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายวิธีการทำสมาธิด้วยดวงแก้วกลมใส โดยนั่งสมาธิที่ศูนย์กลางกายฐานที่ 7 เพื่อน้อมนึกและสัมผัสกับดวงแก้วอย่างสบายๆ เมื่อดวงนิมิตปรากฏ ให้วางอารมณ์สบายและไม่บังคับ การปฏิบัติต้องทำอย่างสม่ำเสมอ ไม่รีบร้อน เพื่อป้องกันความอยากเกินไป ซึ่งจะเปิดประตูสู่การเข้าสู่ดวงธรรมภายในใจ โดยทำได้ในทุกที่ ทุกวิธีการ และเน้นความสบายในการนั่งสมาธิ

หัวข้อประเด็น

-การทำสมาธิ
-การน้อมนึกดวงแก้ว
-กระบวนการเปิดดวงธรรม
-ความสำคัญของการทำสมาธิอย่างสม่ำเสมอ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดวงดาว ดวงแก้วกลมใสนี้ เรียกว่า บริกรรมมินิต นักสมายๆ นักเหมือน ดวงแก้วนั้น มานั่งสนิทอยู่ ณ ศูนย์กลางกายฐานที่ 7 นักไปวกวนไปอย่าง นุ่มนวล เป็นพูทธารสาติว่า “สัมมา อะระหัง” หรือค่อยๆ น้อมนึกดวงแก้ว กลมใสให้ค่อยๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเริ่มต้น ตั้งแต่ฐานที่ 1 เป็นต้นไป น้อมนึกอย่างสบายๆ ใจเย็นๆ ไปพร้อมๆ กับ คำวณนา อันนี้ เมื่อนิมิตดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ให้วาง อารมณ์สบายๆ กับนิมิตนั้น จนเหมือนกันว่า ดวงนิมิตเป็นส่วนหนึ่งของ อารมณ์ หากดวงนิมิตนั้นอันตรธานหายไป ก็ไม่ต้องนึกเสียงดาย ให้วาง อารมณ์สบาย แล้วนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่อนิมิตนั้น ไปปรากฏที่อื่น ที่มีชุบนกลางกาย ให้ค่อยๆ น้อมนิมิตเข้ามาอย่าง ค่อยเป็นค่อยไป ไม่มีการบังคับ และเมื่อนิมิตมาหยุดสนิท ณ ศูนย์กลาง กาย ให้วางสติลงไปยังจุดศูนย์กลางของดวงนิมิต ด้วยความรู้สึกคล้าย มิดดวงดาวดวงเล็กๆ อีกดวงหนึ่ง ซ้อนอยู่ตรงกลางดวงมิตดวงเดิม แล้วสนใจเอาใจใส่แต่ดวงเล็กๆ ตรงกลางนั้นไปเรื่อยๆ ใจจะปรับจนหยุด ได้ถูกส่วน เกิดการตุกศูนย์ และเกิดดวงสว่างขึ้นมาแทนที่ ดวงนี้เรียกว่า “ดวงธรรม” หรือ “ดวงปฐมมรรค” อันเป็นประตูเบื้องต้นที่จะเปิดไปสู่ หนทางแห่งมรรคผลนิพนธ์ การระลึกนึกถึงนิมิตสารถทำได้ในทุกแห่งทุกที่ทุกวิธีอธิบาย ไม่ว่าจะนั่ง นอน ยืน เดิน หรือขณะทำการกิจใดๆ คำแนะนำ คือ ต้องทำให้สม่ำเสมอเป็นประจำ ทำเรื่อยๆ ทำอย่างสบายๆ ไม่รีบ่ง ไม่บังคับ ทำได้แค่ไหน ให้พอใจกัน ซึ่ง จะเป็นการป้องกันมิให้เกิดความอยากจนเกินไป จนถึงกับทำให้ใจ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More