วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2557 หน้า 104
หน้าที่ 104 / 120

สรุปเนื้อหา

สมาธิคือความสงบและความรู้สึกเป็นสุขที่ทุกคนสามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง โดยการปฏิบัติตามวิธีการที่เจ้าประคุณพระมงคลเทพมุนีแนะนำ ซึ่งประกอบด้วยการทำกรรมฐานพระรัตนตรัย การนั่งพับเพียบและระลึกถึงคุณธรรมที่ดี การนั่งนิ่งให้ดวงแก้วกลมใสเคลื่อนเข้าศูนย์กลางกาย รวมถึงการนึกกำหนดนิมิตเป็นดวงแก้วกลมใส เหล่านี้เป็นเทคนิคที่จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติสามารถทำสมาธิได้ง่ายขึ้นและเข้าถึงความสงบในจิตใจ

หัวข้อประเด็น

-สมาธิ
-การทำจิต
-พระพุทธศาสนา
-ความสงบ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เติมเต็มด้วยสติสัมปชัญญะ และปัญญา อันเป็นเรื่องไม่แปลกภัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่าย ๆ ด้วยวิธีปฏิบัติพระเดช-พระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่ วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ เมตตาส่งสอนไว้ดังนี้ ๑. กรรมฐานพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัวเตรียมใจให้ร่มเย็นเป็นเบื้องต้น แล้วสมาทานศีล ๕ หรือ ศีล ๘ เพื่อความมั่นคงในคุณธรรมของตนเอง ๒. คุกเข่าหรือ นั่งพับเพียบสบาย ๆ ระลึกถึงคุณธรรมดี ๆ ที่ได้กระทำแล้วในวันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต จนร่างกายทั้งหมดประกอบด้วยจุดๆ ดวงๆ น้อมนึกดวงกลมใสให้ค่อย ๆ เคลื่อนไหว เข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวราบ โดยเริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่ ๑ เป็นไปใน น้อมนึกอย่างสบาย ๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กันด้วยความเข้าใจ ๓. นั่งนิ่ง ๆ ดวงแก้วกลมใสให้ค่อย ๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวราบ โดยเริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่ ๑ เป็นไปใน น้อมนึกอย่างสบาย ๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กับความเข้าใจ เมื่อมีนิ้วดวงแก้วกลมใสปรากฏขึ้น ณ กลางกาย ให้วางอารมณ์นี้ จนเหมือนกับว่าวาดมิดเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์ ถ้าดวงนิมิตนั้นดำเนินไปปรากฏต่อเนื่องกันเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์ ก็ไม่ต้องนึกเสียใจ ให้วางอารมณ์สบาย แล้วนิมิตนั้นก็ขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่ออารมณ์นั้นไปปรากฏที่อื่น ที่มีศูนย์กลางกาย ให้ค่อย ๆ น้อมนิ่งเข้าสู่ศูนย์กลางกาย ให้ค่อย ๆ น้อมนิ่งเข้ามาอย่างอ่อน ๆ มีอารมณ์หยุดนิ่ง ณ ศูนย์กลางกาย ให้วางสติลงไปยังจุดศูนย์กลางของดวงนิมิต ด้วยความรู้สึกคล้ายมีดวงดาวดวงเล็ก ๆ อีกดวงหนึ่ง ซ้อนอยู่ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้วสนใจแต่ ๔. นึกกำหนดนิมิตเป็น “ดวงแก้วกลมใส” ขนาดเท่าดวงตาดำ ในร้อยช์ ส่วนตรงรอยตา ให้ ขาวใส เย็นตาเย็นใจ ดังประกายของดวงดาว ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่า บริกรรมมนิยม นิมิตเช่นดวงแก้วนั้นมานั่งอยู่ ณ ศูนย์กลางกายอยู่ แล้วไปบรรจบอย่างนุ่มนวล เป็นพุทธานุสติว่า “สมา อะระหัง” หรือในใจใดใดก็ได้แต่ อยู่ในบุญ กราบคาม ๒๕๕๗
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More